Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
HBsAg positive, HBeAg positive
G2P1-0-0-1 GA19+4 wk
นศพต.เบญญาภรณ์…
HBsAg positive, HBeAg positive
G2P1-0-0-1 GA19+4 wk
นศพต.เบญญาภรณ์ ศรีตระบุตร เลขที่ 33
พยาธิสภาพ
Hepatitis B
ผลกระทบ
ต่อมารดา
สตรีที่เป็นพาหะ จะไม่มีอาการแสดงของตับอักเสบ จะไม่เสี่ยงภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นแต่ถ้าสตรีตั้งครรภ์ติดเชื้อ hepatitis B Virus ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและยังสามารถ Abortionได้อีกด้วย
ต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ทารกตายในครรภ์หรือเสียชีวิตแรกเกิด และทารกที่คลอดออกมามีโอกาสติดเชื้อได้สตรีตั้งครรภ์ที่มีผล HBeAg เป็นบวกจะมีอัตราการถ่ายทอดเชื่อไวรัสจากสตรีตั้งครรภ์ไปสู่ทารกถึงร้อยละ 90 และสามารถพัฒนาเป็น โรคตับแข็งและมะเร็งตับในอนาคตในสตรีตั้งครรภ์ที่มีผล HbeAg มีผลเป็นลบจะมีอัตราการถ่ายทอดเชื้อเพียงร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 20 เท่านั้น
-
การติดเชื้อไปยังทารกมีได้ดังนี้
- ผ่านทางรก อาจเกิดได้ขณะคลอดที่มีการรั่วของเลือดมารดาไปยังทารก พบเป็นส่วนน้อย
- ติดเชื้อขณะคลอด โดยทารกกลืนเลือดหรือสารคัดหลั่งในช่องคลอดหรือเลือดมารดาที่มีเชื้ออยู่
- ติดเชื้อระยะหลังคลอด อาจผ่านทางน้ำนม หัวนมหากหัวนมของมารดามีแผล หรือในปากของทารกมีแผล
การดูแลทารกเมื่อคลอด
- ตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ว่าเป็นพาหะเรื้อรัง มี HBsAg หรือไม่ ถ้าเป็น --> การป้องกันการเกิดเชื้อไปยังทารกด้วยการให้Hepatitis B immunoglobulin
- ช่วยเหลือระยะคลอด มีรายงานพบว่าการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกับการคลอดทางช่องคลอด อัตราการติดเชื้อไปยังทารกพอๆกันแต่ผู้ทำคลอดจะต้องพยายามดูดเมือกและเลือดออกจากปากและจมูกทารกออกให้ได้มากที่สุด ไม่ว่าจะคลอดด้วยวิธีใดเพื่อช่วยลดปริมาณเชื้อที่ทารกจะสัมผัสหรือกลืนเข้าไป
- เมื่อทารกคลอดออกมาต้องรีบทำความสะอาดทารกให้สะอาดที่สุดทันที เพื่อเลือดจากมารดาที่เป็นพาหะเรื้อรังถือว่าสามารถติดเชื้อได้
- ให้ภูมิคุ้มกันแก่ทารก
-ภายในระยะเวลา 12 ชั่วโมงหลังคลอด ให้Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) + HB1
-1เดือนฉีด HB2 ถ้า HBsAg ให้ผลบวกแสดงว่าติดเชื้อแล้ว ไม่ต้องให้ครั้งที่ 3 แต่ถ้าผลเป็น ลบ
-6 เดือน ให้ฉีด HB3
-อายุ 12-15 เดือนมาตรวจ HBsAg และ anti-HBs ถ้า HBsAg ให้ผลบวก แสดงว่าป้องกันไม่ได้ผลถ้า anti-HBs ให้ผลบวกแสดงว่าป้องกันได้ผล
-
การวินิจฉัย
- สังเกตจากอาการแสดง
- ค่าการทำงานของตับ SGOT , SGPT และ bilirubin
- การตรวจหา Antigen , Anti body ต่อไวรัส เมื่อตรวจพบ HBs Ag , anti-HBs ,antiHBc , HBeAg หรือ anti-HBe, วินิจฉัยตับอักเสบบี เมื่อตรวจพบ HBs Ag ใน
พลาสม่าและถ้าพบ HBeAg ร่วมด้วยจะมี โอกาสแพร่ไปยังผู้อื่นรวมถึงทารกได้สูงกว่ารายที่พบ HBs Ag เพียงอย่างเดียว
ข้อมูลจากการตรวจเลือด
HBsAg การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีHBeAZg ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี (Viral replication)
แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
1.การติดเชื้อเฉียบพลัน (acute hepatitis B infection) หมายถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในระยะแรก ถือที่การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 6 เดือน จะมีอาการอ่อนเพลียเบื่ออาหาร ปวดเมื่อย ตามกล้ามเนื้อและข้อ ปวดศีรษะ คล้ายไข้หวัดใหญ่มักไม่เป็นดีซ่าน จะพบน้ำดีในปัสสาวะเป็นอาการแสดงแรกของความผิดปกติของตับทำให้ปัสสาวะมีสีเหลืองเข้ม ตามด้วยอาการตัวเหลืองและตาเหลือง ขณะเดียวกัน alkaline phosphatase , SGOT , SGPT จะเพิ่มขึ้น
- การติดเชื้อเรื้อรัง (chronic hepatitis B infection)หมายถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเป็นระยะเวลามากกว่า 6 เดือน แบ่งได้เป็น
- Chronic persistent hepatitis พบได้บ่อย เกิดตามหลังตับอักเสบแบบเฉียบพลัน โดยมีอาการดีซ่านมานานมากกว่า 2 เตือน ผู้ที่มีตับโตเล็กน้อย ระดับเอนไซม์SGOT และ SGPT เพิ่มขึ้น
- พาหะ (carrier) ผู้ที่ตรวจเชื้อไวรัส HB s Ag โดยไม่มีอาการของโรคแต่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคตับอักเสบในภายหลัง และมีแนว โน้มจะเป็นตับแข็งและมะเร็งตับ
- Chronic active hepatitis จะพบเอนไซม์ตับสูงกว่ทปกติอยู่นาน ตรวจพบ HBs Ag ในเลือดเป็นเวลานานส่วนใหญ่เกิดจากเป็นดีซ่านมาเป็นเวลานาน
-
ตรวจร่างกาย ตรวจครรภ์
ตรวจร่างกาย
- เปลือกตาซีด
- คลำคอไม่พบ ไทรอยด์โต
- มีฟันผุ 1 ซี่ ไม่มีเหงือกบวม
- เต้านมปกติ
- ไม่มีบวมกดบุ๋ม
-
-
ข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติการตั้งครรภ์
G2P1001 GA 19+4 wk by date
LMP 13 พฤศจิกายน 2563 * 5 วัน
EDC by date 20 สิงหาคม 2564 GA 8+5 wks
NOTIFY : HBsAg positive,HBeAg positive
ประวัติส่วนตัว
- ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 29 ปี
- ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
- ปฏิเสธการแพ้อาหารและยา
- น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 63 kg ส่วนสูง 156 cm. BMI 25.89 kg/m2
ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต
ทารกเพศชาย น้ำหนัก 2600 กรัม full term คลอดแบบ Normal labor วันที่ 31 มีนาคม 2560 ที่ รพ.พะเยา ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ปัจจุบันสุขภาพดี
-
คำแนะนำ
คำแนะนำในไตรมาสที่ 1
-การรับประทานอาหาร แนะนำให้มารดารับประทานอาหารให้ครบ 5หมู่ เน้น โปรตีน เนื้อนมไข่ ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ผักใบเขียว และรับประทานอาหารที่มีโฟลิกสูง ซึ่งมีความจำเป็นกับทารกเพื่อใช้ในการสร้างอวัยวะต่างๆ และสร้างเซลล์สมองแคลเชียม จำเป็นในการพัฒนาการสร้างกระดูกและฟัน ซึ่งรับประทานได้จากนม และอาหารที่มีแคลเชียมสูง เช่น กระดูกอ่อน ปลาเล็กปลาน้อย รวมถึงการรับประทานยาเม็ดแคลเซียม
-ดื่มน้ำวันละ 8-12 แก้ว/วัน-อาหารที่ควรงดและหลีกเลี่ยงของคุณแม่ตั้งครรภ์ไตรมาสแรก คืออาหารที่ปรุงไม่สุก อาหารกึ่งสำเร็จรูป อาหารกระป้อง อาหารที่มีส่วนผสมของผงชูรส อาหารรสจัด โดยเฉพาะหวานจัด อาหารไขมันสูง ทั้งนี้ยังควรงดการดื่มชา กาแฟ และแอลกอฮอล์ด้วย
-ไม่ควรสูบบุหรี่ และใช้สารเสพติด
-นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ 8-10 ชั่วโมง/วันออกกำลังกายได้เบาๆ ไม่ควรทำกิจกรรมที่ต้องออกแรงเยอะ และรุนแรงต่อร่างกาย
-คุณแม่ส่วนใหญ่มักคลื่นส้ อาเจียน และรับประทานอาหารไม่ได้ทารกในครรภ์ไม่ได้รับสารอาหารบำรุงสมองอย่างเพียงพอ คุณแม่เกิดภาวะขาดสมดุลของเกลือแร่และวิตามิน หากมีอาการแพ้ท้องมากควรพบแพทย์เพื่อรับการรักษา เมื่อรับประทานอาหารได้น้อยควรแบ่งออกเป็นมื้อย่อย ทานมื้อละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
-เลือดออกทางช่องคลอด ภาวะเลือดออกทางช่องคลอดมีความเสี่ยงต่อชีวิตของทารกในครรภ์และคุณแม่อย่างมาก ถือเป็นอันตรายที่สามารถเกิดได้ทุกช่วงอายุครรภ์
-ปวดท้องน้อยอย่างรุนแรง แม้คุณแม่ตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มักพบอาการปวดท้องน้อยเป็นปกติ เนื่องจากกล้ามเนื้อมดลูกมีการขยายตัวเพื่อรองรับตัวอ่อนในครรภ์ แต่หากอาการปวดมากขึ้นจนผิดสังเกต หรือปวดติดต่อกันยาวนาน ควรรีบพบแพทย์
คำแนะนำได้แก่
- งดมีเพศสัมพันธ์ เนื่องจากอาจจะทำให้เกิดการตกเลือดก่อนคลอดได้
- ดูแลตนเองให้สะอาด เพื่อลดการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น
- สังเกตการดิ้นของทารกในครรภ์ หากทารกไม่ดิ้น หรือดิ้นน้อยกว่าปกติให้รีบมาพบแพทย์ทันที
- ให้มารดาสังเกตอาการเจ็บครรภ์จริง คือ การเจ็บจะเริ่มต้นเหมือนปวดหลังบริเวณบั้นเอว แล้วร้าวมาที่หลังหรือขาทั้ง 2 ข้าง รู้สึกเหมือนอยากเข้าห้องน้ำ บางครั้งจะมีมูกหรือเลือดปนออกมา อาการเจ็บครรภ์จะเพิ่มมากขึ้น รู้สึกหน้าท้องและมดลูกแข็งเป็นพักๆ และค่อยๆคลายตัวลงความเจ็บจะเพิ่มขึ้นและนานขึ้นเรื่อยๆ สม่ำเสมอทุก 10 นาที ทุก 5 นาที
- มีอาการน้ำเดินคือมีน้ำไหลออกมาทางช่องคลอดเหมือนปัสสาวะแต่ไม่สามารถกลั้นได้ ปริมาณชุ่มผ้าอนามัย 2 ผืน
- สังเกตอาการตกเลือดก่อนคลอด เมื่อมีเลือดสดไหลออกมาทางช่องคลอดหากมือาการเจ็บครรภัจริง มีน้ำเดิน หรือมีอาการตกเลือดก่อนคลอด ควรรีบมาพบแพทย์ทันที
-
-
ไตรมาส 3
ทารกแรกเกิดมีโอกาสติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี จากมารดาตั้งแต่แรกเกิดได้ง่ายเนื่องจากโรคไวรัสตับอักเสบ บี สามารถติดต่อจากมารดาสู่ทารกในขณะตั้งครรภ์และในระหว่างคลอดได้
-
-
-