Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคพิษสุนัขบ้า, นางสาวฑุลิกา เดชเกตุ ปี 2 เลขที่ 23, อ้างอิง 1…
โรคพิษสุนัขบ้า
คือ
โรคที่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
ติดต่อถึงคน
ระบาดวิทยา
สาเหตุที่โรคระบาดมาสู่คน
มีเศษอาหารเหลือมาก
ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธ
ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการกำจัดสัตว์
ไม่สามารถจับสัตว์จรจัดมาฉีควัคซีนได้
โรคที่มีอัตราป่วยน้อยแต่คนหรือสัตว์ที่แสดงอาการป่วย
มีอัตราการตาย 100%
การติดต่อ
สุนัขหรือสัตว์ที่เป็นบ้ากัด หรือสัมผัสน้ำลายสัตว์ที่เป็นบ้า
ระยะฟักตัว 3 อาทิตย์
แบ่งเป็น
1.การวินิจฉัยภาวะการสัมผัส
การปฐมพยาบาล
ประวัติของการสัมผัส
ระดับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า
แบ่งได้ 3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1
การสัมผัสที่ไม่ติดโรค
ลักษณะการสัมผัส
การถูกต้องตัวสัตว์ ป้อนน้ำ ป้อนอาหาร ผิวหนังไม่มีแผลหรือรอยถลอก
ถูกเลีย สัมผัสน้ำลายหรือเลือดสัตว์
ผิวหนังไม่มีแผลหรือรอยถลอก
การปฏิบัติ
ล้างบริเวณสัมผัส
ไม่ต้องฉีควัคซีน
กลุ่มที่ 2
การสัมผัสที่มีโอกาสติดโรค
ลักษณะการสัมผัส
ถูกงับเป็นรอยช้ำที่ผิวหนัง ไม่มีเลือดออก หรือเลือดออกซิบๆ
ถูกข่วนที่ผิวหนังเป็นรอยถลอก อาจจะมีหรือไม่มีเลือดออก
ถูกเลียโดยที่น้ำลายถูกผิวหนังที่มีแผลหรือรอยถลอกหรือรอยขีด
การปฏิบัติ
ล้างและรักษาแผล
ฉีด rabies vaccine
กลุ่มที่ 3
การสัมผัสที่มีโอกาสติดโรคสูง
ลักษณะการสัมผัส
ถูกกัด แผลเดียวหรือหลายแผล มีเลือดออก
ถูกข่วน จนผิวหนังขาดมีเลือดออก
ถูกเลีย น้ำลาย สิ่งคัดหลั่ง
การปฏิบัติ
ล้างและรักษาแผล
ฉีด rabies vaccine
2.การดูแลรักษาผู้สัมผัสโรค
1.ปฐมพยาบาลบาดแผลโดยทันที
ล้างแผลด้วยน้ำฟอกด้วยสบู่หลายครั้ง
เช็ดแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ไม่ควรเย็บแผลทันที
2.การป้องกันบาดทะยัก
ให้ tetanus toxoid หรือ tetanus antitoxin
3.การรักษาตามอาการ
ให้ยาแก้ปวด
4.การตัดสินใจใช้วัคซีน และอิมมูโนโกลบุลินป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
สัมผัสภายใน 6 เดือน
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ครั้งเดียวในวันแรก หรือเข้าในผิวหนัง 1 จุด ในขนาด 0.1 ml ครั้งเดียวในวันแรก
สัมผัสหลัง 6 เดือนขึ้นไป
ให้ฉีด 2 ครั้ง ในวันที่ 0 และ 3 แบบเข้ากล้ามเนื้อ หรือในผิวหนังครั้งละ 1 จุด ในขนาด 0.1 ml
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ห้ามฉีด กล้ามเนื้อสะโพก
เพราะมีไขมันแทรกอยู่มาก ทำให้วัคซีนถูกดูกซึมช้า
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส Rhabdovirus
อาการ
เริ่มด้วยอาการปวดศีรษะ มีไข้ต่ำ เจ็บคอ ปวดตามตัว
นางสาวฑุลิกา เดชเกตุ ปี 2 เลขที่ 23
อ้างอิง
1.โรงพยาบาลรามคำแหง.(2563).โรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน้ำ.สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2564,จาก
https://www.ram-hosp.co.th/news_detail/385
เจษฎา ทองเหม.(2563).โรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์.สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2564,จาก
http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/zoonosis_Rabies.htm