Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิด - Coggle Diagram
การสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
ความหมาย
ความคิด เป็นกระบวนทางสมองที่นำเอาข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ที่มีอยู่มาวิเคราะห์ให้ได้ผลลัพธ์ที่เหมาะสม
มิติของกระบวนการคิด
การคิดวิเคราะห์
(Analytical Thinking)
การจำแนกแจกแจงองค์ประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่งระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น
การคิดประยุกต์
(Applicative Thinking)
การคิดเชิงมโนทัศน์
(Conceptual Thinking)
การคิดเชิงกลยุทธ์
(Strategic Thinking)
การคิดเปรียบเทียบ
(Comparative Thinking)
การคิดบูรณาการ
(Integrative Thinking)
การคิดสร้างสรรค์
(Creative Thinking)
ขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมที่มีอยู่ สู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน
การคิดสังเคราะห์
(Synthesis-Type Thinking)
การคิดอนาคต
(Futuristic Thinking)
การคิดวิพากษ์
(Critical Thinking)
การใช้ปัญญาในการพินิจพิจารณา ไตร่ตรองนำไปสู่ข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผล
การสอนเพื่อพัฒนาการคิด
ใช้รูปแบบหรือกระบวนการสอนที่เน้นการพัฒนาการคิดที่มีผู้พัฒนาขึ้น
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาลักษณะการคิดแบบต่างๆ
แผนที่ความคิดและแผนที่ความคิดรวบยอด Mind Maps & Concept Maps
เป็นเครื่องมือในการจดบันทึกความคิดโดยอาศัยหลักการทำงานของสมองทั้งสองซีก
การทำ Mind Mapping
กำหนดความคิดหลักการหน้ากระดาษA4
เขียนประเด็นรองหรือความคิดรองที่แตกออกมาจากแก่น
ใช้ ภาพ หรือ สัญลักษณ์ ให้มากที่สุด
เขียนคำเหนือเส้น แต่ละเส้นต้องเชื่อมต่อกัน
คำสำคัญควรมีลักษณะเป็น คำสั้นๆ
ใช้ สี อย่างน้อย 3 สี
วัตถุประสงค์สำคัญ
การพัฒนาทักษะทางปัญญา :การคิดวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบและการคิดสร้างสรรค์
ประโยชน์
พัฒนาความจำ
เขียนแบบแผนที่ความคิดปรับเปลี่ยนได้ง่าย
พัฒนาทักษะการคิด วิจารณญาณ
พัฒนาทักษะการตัดสินใจ
สิ่งสำคัญ
ผู้สอนควรใช้เทคนิคเดียวกันและให้คำแนะนำแก่ผู้เรียนที่สอดคล้องกัน
การสะท้อนคิด Reflection
เป็นกระบวนการพินิจพิเคราะห์ ตรึกตรอง ใคร่ครวญอย่างลึกซึ้งครอบคลุม ทำให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้
รูปแบบของการสะท้อนคิด
Reflection-in-action : การสะท้อนคิดขณะปฏิบัติงาน
Reflection-on-action: การสะท้อนคิดหลังการปฏิบัติงาน
การเขียนบันทึกจากการสะท้อนคิด
Unstructured – ไม่กำหนดหัวข้อ แต่อธิบายวัตถุประสงค์ของการเขียน
Semi-structured – กำหนดเฉพาะหัวข้อสำคัญ
Structured – กำหนดหัวข้อสำคัญ และมีแนวทาง (guideline) ในการเขียน
Reflective Diaries, Journal, Clinical Logs
เป็นการเขียนบันทึกประจำวันหรือรายงานทางคลินิกโดยการคิดไตร่ตรองประสบการณ เป็นกระบวนการของ “Reflection on action” คือ การวิเคราะห์และตีความ นำไปใช้ และตรวจสอบ ความรู้สึก ที่มีต่อสถานการณ์นั้น
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม
ผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร (Hostility)
มีลักษณะคล้ายกับความโกรธ มีพฤติกรรมการทำลาย ( Destructive) บุคคล มีทัศนคติที่ถูกสะสมมาเรื่อย ๆ มีความคงทนเปลี่ยนไปได้ยากและเป็นปฏิกิริยาการตอบสนองที่รุนแรง ซับซ้อนโดยมีแต่ความเกลียดชัง อิจฉา ริษยา และมีความต้องการที่มักจับจ้องจะทำลาย
ผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว (Aggression)
การแสดงออกทางคำพูดและการกระทำที่แสดงถึงความโกรธแค้น ความไม่เป็นมิตร พร้อมที่จะทำร้ายตนเองและผู้อื่นอันเนื่องมาจากความไม่สามารถในการควบคุมความโกรธได้
ผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง (Violence)
การใช้คำพูด พฤติกรรมคุกคามที่มีผลท าให้คนอื่นตกใจกลัว (Threaten) มีพฤติกรรมที่พยายามจะใช้กำลังและอาวุธทำร้ายคนอื่น (Attempt) และมีการใช้กำลัง
การจัดการความโกรธในชีวิตประจำวันตามแนวพุทธธรรม
สติ เป็นหลักปฏิบัติที่มนุษย์ทุกคนต้องฝึกให้มีขึ้นในตน ผลให้ไม่ฟุ้งซ่าน มีความละอายและเกรงกลัว ต่อบาป มีการพิจารณาไตร่ตรองโดยแยบคาย และมีปัญญา
ขันติ คือ ความอดทน สภาพชีวิตมนุษย์ตามธรรมดาต้องอยู่ในสังคม อดทนต่อสิ่งที่เข้ามากระทบจะทำให้จิตใจเป็นสุข
เมตตา พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งเมตตาการุณย์ ให้ช่วยเหลือผู้อื่นด้วย กาย วาจา และมีน้ำใจปรารถนาดี
บทบาทพยาบาลในการจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าวในผู้ป่วยจิตเวช
กลยุทธ์เพื่อการป้องกัน (preventive strategy) แนวทางที่สำคัญในการป้องกันไม่ให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว ได้แก่ การตระหนักรู้ในตนเองของพยาบาล (self-awareness) การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก (assertive training) และการให้ความรู้กับผู้ป่วย (patient education)
กลยุทธ์ในระยะคาดว่าจะเกิดพฤติกรรม (anticipatory strategy) ได้แก่ การใช้เทคนิคในการติดต่อสื่อสาร (communication strategy) การปรับสิ่งแวดล้อม (environmental change)การปรับพฤติกรรม(behavioral modifications) การรักษาด้วยยา (psychopharmacology)
กลยุทธ์ในระยะเกิดพฤติกรรม (containment strategy) เมื่อใช้กลยุทธ์เพื่อการป้องกัน และการใช้กลยุทธ์ในระยะคาดว่าจะเกิดพฤติกรรมไม่ประสบความสำเร็จ กลยุทธ์สุดท้ายที่จะใช้คือ การจัดการในภาวะวิฤต (crisis management) โดยการใช้ห้องแยก(seclusion) และการผูกมัดผู้ป่วย
จัดทำโดย
นางสาวพรนภัส พลวงค์ษา เลขที่ 45 ห้อง B