Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรีรวิทยาของการตั้งครรรภ์ (Maternal Physiology) - Coggle Diagram
สรีรวิทยาของการตั้งครรรภ์ (Maternal Physiology)
มดลูก (Uterus)
ขนาด 7.5 X 5 X 2.5 -> 20 X 25 X 22.5 cm
น้ำหนัก 50-70 g -> 800-1,200 g
ความจุ 10 ml 5-10 L
กล้ามเนื้อมดลูก ชั้นนอกเรียงตามแนวยาว
ชั้นกลาง ประสานกันเป็นเลข 8 ชั้นในสุดเรียงเป็นแนวขวาง
6 wk เริ่มมี Braxton-Hick's contraction
20 wk มดลูกหดตัวมากขึ้น false labor pain
คอมดลูก ขยายและนุ่มขึ้น เรียกว่า Hegar's sign
ปากมดลูก (Cervix) goodell's sign
Mucous plug เพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่โพรงมดลูก
Ovary ไม่มีการสุกของไข่
Vagina : chadwick's sign เลือดมาเลี้ยงมากขึ้น สีม่วงคล้ำ
rugea ขยายมากขึ้น, secretion มากขึ้น เป็นกรดมากขึ้น
เต้านม
Breasts ใหญ่ขึ้น คัดตึง จากฮอร์โมน estrogen&progesterone
ลานนม ขยายใหญ่ขึ้น มีสีคล้ำขึ้น
ต่อมไขมัน Mon tagomery's tubercles เป็นตุ่มนูน คล้ายหัวสิว
ให้ความชุ่มชื้น ป้องกันหัวนมแตก
12 wk : pre colostum ออกมาได้เล็กน้อย
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system)
ฮอร์โมนที่สร้างจากรก
Steroid Hormone : Estrogen, Progesterone
Protein Hormone : HCG (Human Chorionic Gonadotropin),HPL (Human Placental Lactogen)
progesterone + relaxin = maintained pregnancy
HCG : (Human Chorionic Gonadotropin)
สร้างหลังปฏิสนธิ 8-10 วัน : สร้างโดย trophoblast
ช่วยคงสภาพ corpus luteum ให้ทำงานอีก 8-10 week
Luteo-placental shift corpus luteum
3 เดือนมีปริมาณ 50,000 - 100,000 IU/L20 wk เหลือ 10,000-20,000 IU/L
กระตุ้น CL สร้าง relaxin : กระดูก ข้อต่อ คลายตัว นุ่มขึ้น
กด immune ของมารดา ที่จะ reject ต่อ fetal antigen
ใช้ทดสอบการตั้งครรภ์
Estrogen
รกสร้างตั้งแต่ 6-12 wks. เพิ่มขึ้น 100 เท่า
บอกถึงหน้าที่ของรก สุขภาพของทารกในครรภ์
เพิ่มขนาดกล้ามเนื้อมดลูก เพิ่มปริมาณเลือดที่มาเลี้ยงมดลูก รก ทารก
เพิ่มการคั่งของน้ำและโซเดียม ทำให้ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น
ทำให้เนื้อเยื่อเกี่ยวพันอ่อนตัว เอ็นยืดขยายตัวมากขึ้น- ปวดหลัง,หัวเหน่า
เพิ่มการสะสมของเม็ดสี - ผิวคล้ำ Chloasma และ Linea nigra
มีการเพิ่มจำนวน Fibrinogen ประมาณ 50% - เลือดแข็งตัวเร็ว
กระตุ้นการทำงานของท่อน้ำนม ต่อมน้ำนม หัวนม - เต้านมคัดตึง ขยาย
ลดการหลั่งของน้ำย่อย (HCl pepsin) ในกระเพาะอาหาร- อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้
กระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
กระตุ้นการสร้างสารคัดหลั่งในช่องคลอด
มีผลต่ออารมณ์ ทำให้อารมณ์แปรปรวน ความต้องการทางเพศเพิ่มขึ้น
Progesterone
10 wk แรก สร้างจาก CL รกเริ่มสร้างเมื่อ 7 wk
ปริมาณ เพิ่มขึ้น 10 เท่า
กระตุ้นเยื่อบุผนังมดลูกให้หนาตัวขึ้น เพื่อรองรับการฝังตัวของไข่
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบต่างๆ คลายตัว เช่น มดลูกคลายตัว
กระเพาะอาหาร-ท้องอืด ท้องผูก, ท่อปัสสาวะคลายตัว-ปัสสาวะคั่ง
กระตุ้นท่อ และต่อมน้ำนม - เต้านมคัดตึง
มีผลต่อ CNS ทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
อุณหภูมิกายสูงขึ้น 0.4-1.0 Fทำให้เหงื่อออกง่าย
HPL: (Human Placental Lactogen)
สร้างตั้งแต่สัปดาห์ที่ 5 สูงสุดในสัปดาห์ที่ 34
ยับยั้งการทำงานของ insulin
ลดการเผาผลาญโปรตีน
ลดการสร้างและหลั่งน้ำนม
ต่อมใต้สมอง ( Pituitary gland ) มีขนาดใหญ่ขึ้น
Growth hormone ลดลง มีผลต่อเมตาบอลิซึมของ prot. CHO, lipid
Prolactin hormone เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ออกฤทธิ์ไม่ได้ ถูกยับยั้งโดย E+P
Oxytocin ทำให้มดลูกหดรัดตัว สูงสุดขณะเบ่งคลอด
ตับอ่อน สร้าง อินซูลิน ปกติ แต่ถูกขัดขวางการทำงาน
Thoroid gland : Ttyroxin มากขึ้น ต่อมใหญ่ขึ้น T4 T3
การเผาผลาญอาหารเพิ่มขึ้น ชีพจรและหัวใจเต้นเร็ว อารมณ์แปรปรวน
อ่อนเพลีย เหงื่อออก มาก ทนต่ออากาศร้อยได้น้อย
ต่อมหมวกไต : Cortisone ช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล
Aldosterone ป้องกันการสูญเสียโซเดียม จากอิทธิพลของ Progesterone
ระบบทางเดินอาหาร
อิทธิพลของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง
อาการที่พบคือ เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อยท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูกและแสบร้อนยอดอก
การเบียดบังกระเพาะปัสสาวะของมดลูกทำให้ปัสสาวะบ่อย
โปรเจสเตอโรนทำให้ท่อไตและท่อทางเดินปัสสาวะขยายตัว
morning sickness
เหงือกบวม และอักเสบมีเลือดออกง่าย มีน้ำลายมาก
Heart burn : แสบร้อนยอดอก เรอเหม็นเปรี้ยว
Flatulence : ท้องอืด ท้องเฟ้อ
Constipation : ท้องผูก
Hemorrhoid : ริดสีดวงทวาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ (Renal system)
เลือดไหลผ่านไตมากขึ้น 30%
การกรอง (GFR) เพิ่มขึ้น 50%
การดูดกลับของไตลดลง ทำให้พบน้ำตาล, albuminได้ +1
ท่อไตถูกกด และบีบตัวลดลง + ความตึงตัวของกระเพาะ
ปีสสาวะลดลง ทำให้ปีสสาวะคั่ง ติดเชื้อได้ง่ายขึ้น ปัสสาวะบ่อย
T1 มดลูกเบียดกระเพาะปัสสาวะ
T3 หัวทารกกดกระเพาะปัสสาวะ
ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด (Cardiovascular system)
หัวใจ systolic murmur 90%, diastolic murmur 19%
ปริมาตรเลือดเพิ่มขึ้น 1,500 ลบ.ซม. (40%) , SV เพิ่มขึ้น, CO เพิ่มขึ้น
เพิ่มสูงสุด 32 wk
RBC เพิ่มขึ้น 30% Physiologic anemia
Fibrinogen, facter 7,8,9,10,12 เพิ่มขึ้น, 11,13 ลดลง
BP ไตรมาส 1= ลดลง ไตรมาส 2 = ต่ำสุด ไตรมาส 3 เริ่มสูงขึ้นเท่าเดิม
ผิดปกติ systolic สูงมากกว่า 30 mmHg diastolic สูงมากกว่า 15 mmHg
การไหลเวียนของเลือดในส่วนล่างของร่างกายจะช้า จากมดลูกกดทับหลอดเลือดดำที่บริเวณอุ้งเชิงกราน(Supine hypotensive syndrome)
เกิดภาวะบวมน้ำ เส้นเลือดขอดบริเวณเท้า อวัยวะ สืบพันธุ์ภายนอก และริดสีดวงทวาร
ระบบทางเดินหายใจ
ความต้องการออกซิเจนเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากการเผาผลาญเพิ่มขึ้น การหายใจเร็ว และแรงขึ้น
ทรวงอกขยายใหญ่ขึ้น ความจุปอดเพิ่มขึ้น
การไหลเวียนของอากาศในถุงลมปอดเพิ่มขึ้น 65%
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัว การแลกเปลี่ยนก๊าซดีขึ้น
ระบบผิวหนัง เอ็น และกล้ามเนื้อ
สีผิวเข้มขึ้น ผิวหนังคล้ำขึ้น เช่น หลัง คอ หน้าอก ใต้รักแร้ หัวนม ขาหนีบ
Chloasma gravidarum
Linea nigra
Striae gravidarum
อาจพบรอยแตกลายที่อื่น เช่น เต้านม ต้นขา
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ของสตรีตั้งครรภ์
ไตรมาสแรก : Ambivalence ลังเล หงุดหงิด น้อยใจง่าย ร้องไห้ง่าย วิตกกังวลมาก คิดถึงแต่เรื่องของตนเอง ระยะนี้ต้องการผู้ที่เข้าใจปลอบโยน ให้กำลังใจ
ไตรมาสที่สอง Acceptance : ยอมรับ รู้สึกกลัวลดลง มีความรู้สึกรักตนเอง คิดถึงแต่ตนเอง หมกมุ่น (Introversion) ทำสิ่งต่างๆ เพื่อสนองความต้องการของตนเอง
ไตรมาสที่สาม : ภาพลักษณ์ของสตรีตั้งครรภ์ อารมณ์ไม่คงที่ (Emotional lability) ร่าเริง เศร้า สับสน ร้องไห้ กลัวการคลอด กลัวไม่กลับคืนสู่สภาพเดิม