Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะชัก (Seizure) - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะชัก (Seizure)
สาเหต
1.โรคลมชักไม่ทราบสาเหตุ กรรมพันธุ์ บาดเจ็บระหว่างคลอด พบก่อน อายุ 20 ปี
2.รอยโรคของสมองโดยตรง สมองได้รับการกระทบกระเทือน
3.ความผิดปกติทางชีวเคมี น้้าตาลในเลือดต่้า สมองขาดออกซิเจน
ปัจจัยที่อาจจะท้าให้เกิดการชัก
เนื้องอกในสมอง(Brain Tumor)
การดื่มสุรา การได้รับยาและสารพิษต่าง ๆ
โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular Disease)
การอักเสบหรือติดเชื้อที่สมอง (Encephalitis Brain Abscess)
การเสียสมดุลของสารน้้าและอิเล็กโตรไลท์ได้แก่ แคลเซียม ท้าให้การท้างาน
ของเซลล์ประสาทมากขึ้นหรือน้อยลง
ภาวะแทรกซ้อนของโรค อื่น ๆ เช่น ภาวะตับวาย
ชนิดของการชัก
ชักเกร็งกระตุกทั้งตัว (Generalized seizures) เป็นการชักที่เกิดจากความผิดปกติของ
คลื่นไฟฟ้าสมองทั้ง 2 ข้าง พร้อมกัน
ชักเฉพาะที่(Partial seizures) เป็นการชักซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง
จากCortical Area ส่วนใดส่วนหนึ่ง
การชักที่ไม่สามารถระบุได้(Unclassified seizure)
การตรวจวินิจฉัย
1.การซักประวัติและการตรวจร่างกายอย่างละเอียด : การคลอด ประวัติการ
พัฒนาการความเจ็บป่วยและอุบัติเหตุ ประวัติครอบครัว การมีอาการชักเมื่อมีไข
2.ประวัติการชัก : ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการชัก เหตุการณ์ชักน้า รายละเอียดการชัก
อาการน้า เวลาที่เกิด ระยะเวลา ความถี่ อาการขณะชัก
3.ผลการตรวจต่างๆ:การตรวจคลื่นสมอง (electroencephalogram;EEG), CT,
MRI, เจาะน้้าไขสันหลัง
การรักษา
• 1. ป้องกันอันตรายในระหว่างชัก (prevent injury during aseizure)ท้าทางเดินหายใจให้โล่ง
• 2.ยาต้านการชัก(anti-epileptic drugs; AEDs) หรือanti-convulsants
การผ่าตัด: การเลือกผู้ป่วยมาผ่าตัดโรคลมชักควรพิจารณาในผู้ป่วยที่ดื้อต่อยาต้านการชักเพราะผู้ป่วยที่ควบคุมอาการชักไม่ได้มีอัตราตายมากกว่าผู้ป่วยที่สามารถควบคุมโรคลมชักได้
การพยาบาล
1.การประเมินผู้ป่วยที่ยังไม่ชักรุนแรง
2.การพยาบาลในขณะชัก
การให้ค้าแนะน้าในการดูแลตนเอง
1.การงดเว้นกิจกรรมที่เสี่ยง
2.การรับประทานอาหารและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
3.การงดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
4.ให้ความรู้และท้าความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพและการรักษา เพื่อควบคุมการชัก