Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลล์เจริญผิดปกติ, อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย…
บทที่ 10การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว ALL
(Acute lymphoblastic leaukemia)
พบบ่อยที่สุดในเด็กช่วงอายุ 2-5 ปี
เกิดอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
หมายถึงมะเร็งของระบบเลือดที่เกิดจากความผิดปกติของ
เซลล์ต้นกำเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow)เกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้ ทำให้จำนวนเม็ดเลือดขาวของตัวอ่อนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
พบบ่อยที่สุดในเด็กคือมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute lymphoblastic leukemia ,ALL)
แบ่งได้ 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia(ส่วนใหญ่พบ)
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
(Acute lymphoblastic leukemia)เป็นชนิดที่พบได้ในทุกช่วงอายุทั้งในเด็กและผู้ใหญ่แต่พบได้บ่อยที่สุด
ในเด็กอายุ 2-5 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
(Acute myelogenous leukemia )โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดนี้จึงพบได้ในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก และพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
(Chronic lymphocytic leukemia)เป็นชนิดที่พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ และมีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
(Chronic myelogenous leukemia)เป็นชนิดที่พบได้น้อย พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ในผู้ป่วยเด็กนั้นประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตุของมะเร็งเม็ดเลือดขาวส่วนใหญ่ไม่ทราบแน่ชัดแต่พบว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome) เป็นโรค
ผิดปกติทางพันธุกรรมมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL และ AML
มากกว่าคนปกติ
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL พบว่าจะมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าคนทั่วไปประมาณ 2-4 เท่า
ฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL โดยเฉพาะเมื่อเป็นโรคตั้งแต่อายุยังน้อยพบว่าจะทําให้ฝาแฝดอีกคนหนึ่งมีโอกาสเป็น
โรคนี้ได้ประมาณ 25%
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์(Ionizing radiation)
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด โดยเฉพาะสารเบนซิน (Benzene) สารฟอร์มาลดีไฮด์(Formaldehyde)
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือขาว Blast cell
ทำการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted เพื่อดูให้ชัดเจนอีกครั้งว่ามีการแบ่งตัวที่ผิดปกติในไขกระดูกจริงหรือไม่
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง(Lymphoma)
เป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกัน
ประกอบไปด้วยอวัยวะที่เกี่ยวกับน้ำเหลือง
ได้แก่
ม้าม
ไขกระดูก
ต่อมทอนซิล
ต่อมไทมัส
ภายในอวัยวะมีน้ำเหลืองทำหน้าที่นำสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาว
(Lymphocyte) ไปยังส่วนต่างๆทั่วร่างกาย
ความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวทำให้เกิดเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองขึ้น การทำหน้าที่ก็จะผิดปกติ
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ
(Cervical Lympnode)
ประเภทของต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma)ไมมีอาการเจ็บปวดมีลักษณะเฉพาะ คือจะ
พบ Reed-Sternberg cellซึ่งไม่มีในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดอื่น
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma)อาการจะเร็วและรุนแรงอาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphomaมีลักษณะพิเศษคือ มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell( B lymphocyte)มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มักพบเฉพาะที่
การวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก เพื่อประเมินว่ามีการกระจายเข้าไปในไขกระดูกหรือไม่
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจ PET scan เป็น
การตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อหาเซลล์มะเร็ง
อาการ
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
ในรายที่เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเกิดขึ้นภายในช่องท้อผู้(ปeวยจะมีอาการแน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้นจากการมีน้ำในช่องท้อง
การรักษาปัจจุบัน
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี(Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
มะเร็งไต Wilm Tumor
หมายถึง ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก่อนเนื้องอกภายในเนื้อไตมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่งไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก่อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจาย
ของมะเร็ง
Neuroblastoma
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็ก
อายุน้อยกว่า 5 ปี
เป็นเนื้องอกที่มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest) สามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
อาการ
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes)
มีไข้ ปวดกระดูก
ตำแหน่งที่พบก่อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
การตอบสนองต่อการรักษาจะไม่ดีอันตรายสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบําบัด
Chemotherapy
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
การให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุดมีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด
ระยะนี้ใช้เวลา 4 – 6 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Vincristine
Adriamycin
L – Asparaginase
Glucocorticoid
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation
phase)
การให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะ
โรคสงบแล้วเพื่อให้ยาทำลายเซลล์มะเร็ง
ให้เหลือน้อยที่สุด
ระยะนี้จะใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Metrotrexate
6 – MP
Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
(CNS prophylaxis phase)
การให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
ยาที่ใช้
Metrotrexate
Hydrocortisone
ARA – C
ระยะควบคุมโรคสงบ
(maintenance phase or continuation therapy)
การให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้การให้ 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด ทาง IT IM IV
ทางช่องไขสันหลัง
intrathecal
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวัง
เลือดออก
ทางหลอดเลือดดํา vein ต้องระวังการรัวของยาออกนอกหลอดเลือด ที่ทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)การให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.
ในระยะแรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด หากผู้ป่วยมีเลือดออกจาก จำนวนเกร็ดเลือดต่ำจำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อน
ก่อนการให้ยาซึ่งวิธีนี้จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง เพราะมีเกร็ดเลือดต่ำมากจะทำให้ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตได้รวดเร็วไม่เกิน 24 ชั่วโมง
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบําบัด
การเกิดการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดออกนอกหลอดเลือด (Extravasation of Cytotoxic agent )
มีอาการ ปวด แสบ ร้อน บวม
มีการทำลายเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆเส้นเลือด
การทำลายเนื้อเยื่อจะรุนแรงมากน้อย ขึ้นกับชนิดความเข้มข้นของยาเคมีบำบัด และปริมาณที่รั่ว
การดูแลคือการปะคบเย็น ครั้งละประมาณ 20 นาที ทำซ้ำอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง ในช่วง 1-2 วันแรก หรือตามแผนการรักษาของแพทย์
ยาที่ใช้
Ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจาก
ผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆแต่จะไม่มีอาการเจ็บ
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)