Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, มะเร็งไต (Nephroblastoma),…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (acute lymphoblastic leaukemia : ALL)
พบมากที่สุดในเด็ก ช่วงอายุประมาณ 2-5 ปี
leukemia คือมะเร็งระบบโลหิตที่เกิดจากความผิดปกติของ stem cell ที่แบ่งตัวผิดปกติ ไม่สามารถเจริญไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนเพิ่มขึ้น ทำให้มีการสร้างเม็ดเลือดแดง และเกร็ดเลือดลดลง
ALL มีความผิดปกติที่ขา Lymphoid และหยุดพัฒนาที่ระยะ Lymphoblast
ALL แบ่งได้ 2 ชนิด คือ
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia มักพบเป็นส่วนใหญ่
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ALL พบบ่อยสุดในเด็กอายุ 2-5 ปี
AML พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และพบได้ในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
CLL พบได้ในผู้ใหญ่ มีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
CML พบได้น้อย
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
เด็กที่่เป็นดาวน์ซินโดรม พบว่ามีความเสี่ยงงเป็นมะเร็งชนิด ALL และ AML มากกว่าคนปกติ
ความครัวที่มีสมาชิกเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว มีโอกาสเกิดโรคสูงกว่าคนทั่วไป 2-4 เท่า
ในฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด ALL ทำให้แฝดอีกคนมีโอกาสเป็นโรคนี้ประมาณ 25%
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไอออนไนซ์ (lonizing radiation)
มีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษามะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิดเช่น benzene formaldehyde
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีบางชนิดจากสิ่งแวดล้อม หรือจากควันบุหรี่
อาการ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด เลือดออกง่าย มีจ้ำเขียวตามตัว มีประจำเดือนมากกว่าปกติ มีก้อนที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ตับม้ามโต
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาลคือ ติดเชื้อง่าย มีไข้
การวินิจฉัย
เจาะเลือดหาเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ (Cervical Lympnode)
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
ชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin lymphoma)
ลักษณะเฉพาะคือพบ Reed-Sternberg cell ซึ่งไม่พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดอื่น
ชนิดนอนฮอนจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma)
อาการจะเร็วและรุนแรง มักจะมาโรงพยาบาลเมื่อมีการกระจายทั่วร่างกายแล้ว อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอก หรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
มีลักษณะพิเศษคือ มีต้นกำเนิดจาก B-cell มีการกระแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก
การวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก
การตรวจ CT scan , MRI
การตรวจ Bone scan , PET scan
อาการ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
คลำพบก้อนที่บริเวณต่อมน้ำเหลือง แต่ไม่มีอาการเจ็บ
มีไข้ หนาวสั่น เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
อาการในระยะลุกลาม
ซีด เลือดออกง่าย มีจ้ำเลือดออกตามตัว
ในรายที่เป็นในช่องท้อง จะมีอาการแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย ท้องโตจากการมีน้ำในช่องท้อง
การรักษา
การรักษาโดยใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
ปัจจุบันนิยมใช้มากที่สุด
การฉายรังสี (Radiation Therapy) คือการรักษาด้วยการฉายรังสีปริมาณสูง
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด (Transplantation)
มะเร็งไต (Nephroblastoma)
หมายถึงภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Paenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลยายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบบ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
ข้อห้าม
ห้ามคลำบ่อย เพราะจะทำให้แตกหรือเกิดการแพร่กระจายของมะเร็ง
อาการนำมา คือมีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง ตาโปนมีรอยช้ำนอบตา(raccoon eyes) มีไข้ ปวดกระดูก ตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุด คือต่อมหมวกไต
มีอัตราการตายสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
ระยะการรักษายาเคมีบำบัด
1.ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
ทำให้ไขกระดูกสามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ตามปกติ
ยาที่ใช้ vincristine, Adriamycin, Glucocorticoid
2.ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
เป็นการให้ยาหลายชนิดหลังผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบแล้ว เพื่อให้ยาทำลายเซลล์มะเร้งให้เหลือน้อยที่สุด
ยาที่ใช้ Metrotrexate, 6-MP
3.ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
เพื่อป้อกันนไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
ยาที่ใช้ Metrotrexate, ARA-C
4.ระยะควบคุมดรคสงบ (maintenance phase)
การให้ยาเพื่อควบคุมและรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้ คือ 6-MP
การรักษาประคับประคอง
เป็นการรักษาโรคแทรกซ้อน และอาการข้างเคียงจากการให้ยา
การรักษาด้วยเกร็ด จำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อนการให้ยา
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
1.Cyclophosphamide
ออกฤทธิ์จับหรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง (cross link) ให้เพิ่มจำนวนไม่ได้
ผลข้างเคียงที่ต้องระวังคือ การตกค้างของยาในกระเพาะปัสสาวะ ทำให้เกิด Hemorrhagic cystitis คือเลือกออกในกระเพาะปัสสาวะ
2.Methotrexate
ยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA ออกฤทธิืกดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
มักเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตับ และไต และยังทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และเยื่อบุช่องปากอักเสบ
3.Cercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะได้รับยานี้ไปทานต่อที่บ้าน
4.L-asparaginase
รักษาโรคมะเร็ง ALL มีโอกาสเกิดการแพ้สูงมากจึงต้อง test dose ก่อนการให้ยา มีผลต่อตับอ่อนในการหลั่ง Insulin ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
การดูแลรักษาเด็กที่ได้ยาเคมีบำบัดที่สำคัญ
เกิดการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดออกนอกหลอดเลือด (Extravasation of Cytotoxic agent)
การดูแลคือการประคบเย็น ครั้งละ 20 นาที อย่างน้อยวันละ 4 ครั้งในช่วง 1-2 วันแรก
ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
นางสาวจุฑารัตน์ เอกเกษตรสิน เลขที่14 62111301015