Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 4-7 - Coggle Diagram
สรุปบทที่ 4-7
บทที่ 4การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล
องค์ประกอบของการสื่อสาร โดยทั่วไปมี 4 ประการ คือ
1.ผู้ส่งสาร
2.สาร
3.ช่องทางการสื่อสาร
4.ผู้รับสาร
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
การนำเสนอข้อมูลด้วยภาพ (data visualization) สามารถช่วยตอบ
คำถาม หรือนำเสนอประเด็กต่างๆ ได้รวดเร็ว และชัดเจนมากขึ้น
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
จะต้องระวังไม่ให้ตัวแปรที่ใช้แสดงผลด้านอื่นทั้งไม่ได้ตั้งใจเพราะจะทำให้ผู้รับตีความผิดและเข้าใจความหมายผิดไม่ตรงกับที่ต้องการสื่อสาร
การเล่าเรื่องจากข้อมูล (Data Story Telling)
เป็นการถ่ายทอดเนื้อหา ความรู้ ผลลัพธ์จากข้อมูลที่ผ่านการ
วิเคราะห์และประมวลผลออกมาเป็นภาพ
บทที่ 5 การแบ่งปันข้อมูล
จุดประสงค์การ
เรียนรู้
อธิบายองค์ประกอบการสื่อสาร
อธิบายกระบวนการการ
เขียนบล็อก
ออกแบบและสร้างแฟ้ม
ผลงาน
ตระหนักถึงผลกระทบของการแบ่งปันข้อมูลแบบสาธารณะ
ข้อควรระวังในการแบ่งปันข้อมูล
1.ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
2.ข้อมูลบางชนิดอาจถูกนำมาใช้
3.ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
4.การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้อง
ตามกฎหมาย
แฟ้มสะสมผลงาน(Portfolio)ใช้ในการนำเสนอเพื่อประมวลผลในการสมัครเรียนหรือสมัครงาน
บล็อกBLOG เป็นการเขียนข้อมูลเพื่อนำไปเผยแพร่บนเว็บไซต์
องค์ประกอบของผู้ส่งสาร
1.ผู้ส่ง 2.สาร 3.ช่องทาง 4.ผู้รับ
ช่องทางในการ
สื่อสาร
1.การสื่อสารโดยตรง 2.สื่อมวลชน 3.สื่อสังคมออนไลน์
องค์ประกอบและรูปแบบ
พื้นฐานในการสื่อสาร
บทที่6 จริยธรรมและจรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์และพรบคอมพิวเตอร์
จริยธรรม หมายถึง “หลักของความถูกและ
ความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ” โดยสรุปแล้ว จริยธรรม จะมีความหมายไปในเดียวกันคือ เป็นหลักเกณฑ์ที่ประชาชนตกลงร่วมกันเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกันในสังคม
“จริยธรรม” หรือ Ethics นั้นอาจเข้าใจกันในหลายความหมาย เช่น หมายถึง “หลักศีลธรรมจรรยาที่
กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ”
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1.ความเป็นส่วนตัว
2.ความถูกต้อง
3.ความเป็นเจ้าของ
4.การเข้าถึงข้อมูล
ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่ภายใต้การคุ้มครองของ
กฎหมาย 3 ประการคือ
ความลับทางการค้า (Trade secrets)2. ลิขสิทธิ์ (Copyright)3. สิทธิบัตร (Patents)
จรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์แนวทางระดับองค์กร มีสำคัญในการป้องกัน และ และ ควบคุมปัญหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้คอมพิวเตอร์ ได้แก่จรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์ซึ่ง เป็นการประมวลหลักจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์เป็นลายลักษณ์อักษร
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
ก็ถือว่าเป็นการควบคุมการใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับหนึ่งและในทางหนึ่งก็ช่วยคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ใช้งานด้วย
บทที่ 7 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence: AI)
การรับรู้ (Perception)(Perception)
ปัญญาประดิษฐ์จะเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์เซนเซอร์เช่นกล้อง ไมโครโฟน เพื่อนำไปประมวลผล และต้องเข้าใจสิ่งที่รับรู้นั้นด้วย
2.การแทนความรู้และการให้เหตุผล
(Representation and Reasoning)กฎการตัดสินใจจากความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในเรื่องต่างๆ จากนั้นใช้ตัวแทนความรู้ที่มีอยู่นี้มาหาข้อสรุป โดยใช้การอนุมาน (Inference)
การเรียนรู้ (Learning)จะเรียนรู้จากข้อมูลขนาดใหญ่(Big Data) โดยสร้างตัวแบบ (Model) จากข้อมูลฝึกสอน (Training Data) ที่มนุษย์นำเข้าไป หรือเป็นข้อมูลจากเครื่องจักรที่สร้างข้อมูลฝึกสอนเองได้
การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ (Natural
Interaction)ปัญญาประดิษฐ์ต้องเข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ เพื่อสร้างปัญญาประดิษฐ์ให้มีปฏิสัมพันธิ์กับมนุษย์ได้อย่างเป็นธรรมชาติ
ผลกระทบทางสังคม (Social Impact)คำนึงถึงความปลอดภัยและความส่วนตัวเพื่อป้องกันผลกระทบ
การประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud
Computing)เป็นรูปแบบหนึ่งของการให้บริการทรัพยากรคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น หน่วยความจำ
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet
of Things: IoT)อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เชื่อมต่อและมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน