Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่5, บทที่7 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สมัยใหม่, สรุปบทที่4, สรุปบทที่6…
สรุปบทที่5
การแบ่งปันข้อมูลData Sharing
เนื้อหา
องค์ประกอบและ
รูปแบบพื้นฐานใน
การสื่อสารเทคนิคและวิธีกาแบ่งปันข้อมูลร
ข้อควรระวังในการ
แบ่งปันข้อมูล
จุดประสงค์การ
เรียนรู้
อธิบายองค์ประกอบ
ของการสื่อสาร
อธิบายกระบวนการการ
เขียนบล็อก
ออกแบบและสร้างแฟ้ม
ผลงาน
ตระหนักถึงผลกระทบของการแบ่งปันข้อมูลสู่สาธารณะ
องค์ประกอบและรูปแบบพื้นฐานในการสื่อสาร
คล็อด แชนนอน (Claude
Shannon) และวาร์เรน วี
ฟเวอร์ (Warren Weaver)ซึ่งประกอบด้วย ผู้ส่ง ช่องทางและผู้
รับ
เดวิด เบอร์โล (Davidได้ขยายรูปแบบและองค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารโดยเพิ่ม สารเข้าไปในองค์ประกอบหลักรูปแบบการสื่อสารนี้
องค์ประกอบของสาร
ผู้ส่ง
สาร
ช่องทาง
ผู้รับ
ช่องทางในการ
สื่อสาร
การสื่อสารโดยตรง
สื่อมวลชน
(mass media)
สื่อสังคมออนไลน์
(social media)
เทคนิคและวิธีการแบ่งปัน
ข้อมูล
บล็อก (blog) มาจากคำว่าเว็บ-ล็อก
(web-log)ซึ่งเป็นการเขียนบทความอธิบายหรือให้ข้อมูล เพื่อนำไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่ให้บริการ เปรียบเสมือนเป็นสื่อกลางหรือสถานที่เก็บ
ขั้นตอนการเขียนบล๊อก
การวางแผน
ค้นคว้า
ตรวจสอบข้อมูล
การเขียนคำโปรย
การเขียน
ตรวจสอบแก้ไข
การใช้ภาพประกอบ
อินฟลูเอนเซอร์
(influencer)
เป็นผู้มีอิทธิพลในสื่อสังคมและได้รับ
ความนิยมมีคนติดตามบนโลกออนไลน์จำนวนมากการนำเสนอเนื้อหาใดจากอินฟลูเอนเซอร์จะส่งผลกระทบต่อสังคมหรือกลุ่มคนที่สนใจในเรื่องนั้นๆ
portfolio
แฟ้มผลงาน (portfolio) เป็นเอกสารในการรวบรวมหลักฐานที่แสดงถึงความสามารถและผลงานของบุคคลเพื่อใช้ในการนำเสนอ
ขั้นตอนการทำแฟ้มผลงาน
รวบรวมผลงาน
จัดหมวดหมู่
คัดเลือกผลงาน
จัดลำดับความน่สนใจ
ลำดับและร้อยเรียงเรื่องราว
ตรวจทาน
ข้อควรระวังในการแบ่งปันข้อมูล
ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
ข้อมูลบางชนิดอาจถูกนำมาใช้
การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้อง
บทที่7
นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สมัยใหม่
ปัญญาประดิษฐ์
ในปัจจุบัน ปัญญาประดิษฐ์เข้ามามีบทบาทสำคัญใน
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ตัวอย่างเช่น ผู้ช่วย
อัจฉริยะ (Intelligent personal assistant) อย่าง Siri ของApple, Cortana ของ Microsoft
ลำดับเวลาของปัญญาประดิษฐ์ (AI Timeline)
แนวคิดด้านปัญญาประดิษฐ์
การรับรู้ (Perception)
ปัญญาประดิษฐ์จะเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์เซนเซอร์ เช่น
กล้อง ไมโครโฟนเพื่อนำไปประมวลผล และต้อง
เข้าใจสิ่งที่รับรู้นั้นด้วย
2การแทนความรู้และการให้เหตุผล
(Representation and Reasoning)
ปัญญาประดิษฐ์สามารถเก็บองค์ความรู้ในรูปแบบ
ของตัวแทนความรู้ตัวอย่างคือ กฎการตัดสินใจจากความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในเรื่องต่างๆ
การเรียนรู้ (Learning)
ปัญญาประดิษฐ์ที่ใช้อัลกอริทึมการเรียนรู้ของเครื่อง(Machine Learning)จะเรียนรู้จากข้อมูลขนาดใหญ่
(Big Data) โดยสร้างตัวแบบ (Model)
การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ (Natural
Interaction)
ปัญญาประดิษฐ์ต้องเข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
กับมนุษย์
ผลกระทบทางสังคม (Social Impact)
ปัญญาประดิษฐ์ต้องคำนึงถึงจริยธรรม(Ethics) ความ
ปลอดภัย (Security) และความเป็นส่วนตัว
การประมวลผลแบบคลาวด์
เป็นรูปแบบหนึ่งของการให้บริการทรัพยากร
คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเช่น หน่วย
ประมวลผล หน่วยความจำ พื้นที่เก็บข้อมูล
รูปแบบการให้บริการการประมวลผลแบบคลาวด์
Infrastructure-as-a-Service (IaaS)คือ การให้
บริการโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วย ระบบประมวลผล
Platform-as-a-Service (PaaS)คือ การให้บริการด้านแพลตฟอร์ม สำหรับผู้ใช้งานที่เป็นนักพัฒนาแอปพลิเคชั่นเป็นหลัก
Software-as-a-Service (SaaS)คือการให้บริการด้านซอฟต์แวร์บนคลาวด์ ผู้ใช้บริการใช้งานได้ผ่านเบราวเซอร์ ลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ติดตั้งบำรุงรักษา
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย การประมวลผลแบบ
คลาวด์
ข้อดีของการประมวลผลแบบคลาวด์
เชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
ใช้งานฟรี หรือจ่ายเงินเพิ่ม เพื่อเพิ่มเติมความสามารถ
ข้อเสียของการประมวลผลแบบคลาวด์
ต้องเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในการรับ-ส่งข้อมูล
ข้อมูลอาจถูกโจรกรรมจากช่องโหว่ด้านการรักษา
ความปลอดภัย
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่เป็นเทคโนโลยีจากการที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
สามารถเชื่อมต่อหรือสื่อสารถึงกันได้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ทำให้อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์เชื่อมต่อและมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ส่งผลให้ในแต่ละวันเกิดข้อมูลปริมาณมาก
สะสมกันเป็นจำนวนมหาศาล
สถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
สมองกลฝังตัวและเซนเซอร์ ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างโลกทางกายภาพและโลกดิจิทัลโดยเซนเซอร์จะตรวจจับสิ่งที่สนใจ
แอปพลิเคชั่น ใช้สำหรับติดต่อสื่อสารระหว่าง
มนุษย์กับอุปกรณ์
เกตเวย์และเครือข่าย ใช้สำหรับการเชื่อมต่อสู่อินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดการเชื่อมต่อแบบท้องถิ่น(Local
Are Network: LAN) เครือข่ายไร้สาย (Wi-Fi)
ส่วนสนับสนุนการบริการ ใช้สำหรับสนับสนุนการทำงานของบริการ เช่นการประมวลผล วิเคราะห์
ข้อมูล ควบคุมความปลอดภัย
เมืองอัจฉริยะ (Smart City)เป็นการนำเทคโนโลยี IoT มาประยุกต์ใช้ภายใน
เมืองเพื่อทำให้คุณภาพชีวิตของผู้คนในเมืองดีขึ้น
เช่น การดูแลรักษาความปลอดภัยโดยใช้กล้องวงจรปิด
เทคโนโลยีเสมือนจริง
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสริม
ด้านการศึกษา
ด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย
ด้านการท่องเที่ยว/การเดินทาง
ด้านความบันเทิง/เกม
สรุปบทที่4
การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล
การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล
การสื่อสารด้วยข้อมูล
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
การเล่าเรื่องจากข้อมูล
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
การสื่อสารด้วยข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล(Data Communications)หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การถ่ายทอดข้อมูลหรือการสื่อสารจากแหล่งข้อมูลไปยังผู้รับสารนั้นบางครั้งเป็นเรื่องที่ทำได้ยากเนื่องจากข้อมูลมีปริมาณมากหรืออยู่ในรูปแบบที่ไม่สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย
ด้วยเหตุนี้การสื่อสารระหว่างบุคคลจำเป็นที่จะต้องจัดรูปแบบของข้อมูลและนำข้อมูลไปแสดงในบริบทที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจหรือมองเห็นประเด็นสำคัญที่ต้องการสื่อสาร
องค์ประกอบของการสื่อสาร โดยทั่วไปมี 4 ประการ คือ
ผู้ส่งสาร (Sender)
สาร (Message)
ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ (Channel)
ผู้รับสาร (Receiver)
วัตถุประสงค์หลักของการนำการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย
เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล
เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
เพื่อลดเวลาการทำงาน
ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกกว่า1 ล้านตัวอักษร
ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล
ความเร็วของการทำงานโดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสงทำให้การใช้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง
ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่ายเพื่อส่งหรือสำเนาข้อมูล ทำให้ราคาต้นทุนของการใช้ข้อมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กันและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
ข้อมูลที่รวบรวมได้นั้น ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของตารางที่ประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข เป็นปริมาณมาก
การเล่าเรื่องจากข้อมูล
การเล่าเรื่องจากข้อมูล เป็นการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ ผลลัพธ์จากข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และประมวลผลออกมาเป็นภาพจำเป็นต้องมีกลวิธีในการเล่าเรื่องราว(Story)
แบบร้านกาแฟเปรียบเสมือนการพูดคุยกัน
ในร้านกาแฟ มีเวลาในการสนทนามากขึ้น เล่าเรื่องราวระหว่างกัน เนื้อหาที่นำเสนอมีความยาวหรือมีรายละเอียดมาก
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
ข้อมูลที่นำมาใส่ในงานนำเสนอนั้นจะต้องสั้น
สีที่ใช้ต้องสบายตา และน่าสนใจ
รูปที่ใช้จะต้องสอดคล้องกับเนื้อหา
4.รูปที่นำมาใส่ในงานนำเสนอจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป
5.ภาพเคลื่อนไหวควรใส่ให้เหมาะสม ไม่มากไม่น้อยเกินไป
สรุปบทที่6
จริยธรรมและ
จรรยาบรรณ ของนักคอมพิวเตอร์ และ พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ 2560
Outline
จริยธรรมคอมพิวเตอร์ ( Ethics)
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2546) ยังระบุไว้ว่าจริยธรรม หมายถึง “หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ”
จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์
แนวทางระดับองค์กร มีสำคัญในการป้องกัน และ และ ควบคุมปัญหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้คอมพิวเตอร์ ได้แก่จรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์ซึ่ง เป็นการประมวลหลักจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560
ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย
กฎหมายเป็นสิ่งที่ออกโดยรัฐ ผ่านกระบวนการนิติบัญญัติแต่จริยธรรมเป็นเรื่องของคนในสังคมร่วมกันสร้างขึ้นมา
กฎหมายเป็นข้อบังคับที่เป็นลายลักษณ์อักษรแต่จริยธรรม เป็นเรื่องของความสมัครใจ
แต่จริยธรรม เป็นเรื่องของความสมัครใจแต่จริยธรรม เป็นเรื่องของความสมัครใจ
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็นที่รู้จักกันใน
ลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1.ความเป็นส่วนตัว (Privacy)
ความเป็นส่วนตัวของ
ข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึงสิทธิที่จะอยู่
ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุม
2.ความถูกต้อง (Accuracy)
ในการจัดทำข้อมูล
และสารสนเทศให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือนั้นข้อมูลควรได้
รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูล
3.ความเป็นเจ้าของ (Property)
สิทธิความเป็น
เจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินซึ่งอาจเป็น
ทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์
4.การเข้าถึงข้อมูล (Data accessibility)
การเข้าใช้งาน
โปรแกรมหรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนิน
การต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
สาเหตุของความขัดแย้งในจริยธรรมและศีลธรรม
วัฒนธรรมที่แตกต่าง
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร์
การใช้งานอย่างผิดกฎหมาย
การใช้ทรัพยากรขององค์กรเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
จริยธรรมและการศึกษา
การยับยั้งพฤติกรรมที่ไม่มีจรรยาบรรณและผิดกฎหมาย
สรุป พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือฉบับที่ 2 ปัจจุบันมีผลบังคับใช้แล้ว ถ้าเราเป็นคนหนึ่งที่คลุกคลีกับการใช้งานคอมพิวเตอร์หรือ
อินเตอร์เน็ต ก็ควรจะรู้เกี่ยวกับพ.ร.บ.นี้ไว้