Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ (Hypomagnesemia), นางสาวปิยะดา ปัญญาดี…
ภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ (Hypomagnesemia)
แมกนีเซียม (Mg)
•ส่วนใหญ่พบแมกนีเซียมในกระดูก (500-600 mmol) อยู่ใน ICF (500-850 mmol) และ อยู่ใน ECF (12-20 mmol/L)
•แมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบส้าคัญของระบบเอนไซม์ และช่วยให้เยื่อหุ้ม เซลล์มีความเสถียร
•ความเข้มข้นของแมกนีเซียมในของเหลวในกระเพาะอาหารและล้าไส้ แปล เปลี่ยนไปตามต้าแหน่งของล้าไส้
•ภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ จะท้าให้ระดับ PTH ลดลง ท้าให้เกิดภาวะ แคลเซียมในเลือดต่้าด้วย
•แมกนีเซียมมีความสัมพันธ์กับอัลบูมิน
สาเหตุ
•โรคขาดสารอาหาร การอดอาหาร อาเจียน ท้องเสีย
•กลุ่มอาการดูดซึมน้อย ล้าไส้อักเสบ ทางเดินอาหารอักเสบ
•ยาขับปัสสาวะ ที่ขับแมกนีเซียมเพิ่มขึ้น
•โรคพิษสุราเรื้อรัง
•ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง การบริหารยาอินซูลิน ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ที่มีผลต่อการเคลื่อนย้ายของแมกนีเซียมออกนอกเซลล์
ค่าปกติของระดับแมกนีเซียมในเลือด 1.6-2.6 mg/dl
อาการและอาการ
•EKG; T wave สูง depressed ST segment
•หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง หายใจตื้น
•การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารลดลง
bowel sound ลดลง
•เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดแน่นท้อง หงุดหงิด
ฉุนเฉียว สับสน
•Hyperreflexia, tetany, seizures
•ทดสอบ Trousseau’s และ Chvostek’s positive
•มีการกระตุกถี่ๆ (Twitches) เหน็บ (paresthesias)
การพยาบาล
•ติดตามอาการและอาการแสดง ภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ และภาวะ แคลเซียมในเลือดต่ำ
•ดูแลให้แมกนีเซียมซัลเฟตทางหลอดเลือดดำ
(การฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อจะ ทำลายเนื้อเยื่อและมีอาการปวด)
•ป้องกันการเกิดภาวะชัก
•การให้รับประทานแมกนีเซียมจะทำให้เกิด
ท้องเสียและเพิ่มการสูญเสีย แมกนีเซียม
•แนะนำเพิ่มอาหารที่มีแมกนีเซียมสูง
นางสาวปิยะดา ปัญญาดี รหัสนิสิต6205010103