Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดพื้นฐานของการป้องกันและควบคุมโรค หน่วยที่ 5 - Coggle Diagram
แนวคิดพื้นฐานของการป้องกันและควบคุมโรค
หน่วยที่ 5
ความรู้เกี่ยวกับการเกิดโรค
การป้องกันและควบคุมโรคกับธรรมชาติของโรค
สาเหตุของการเกิดโรค
ปฏิกิริยาระหว่าง สิ่งที่ทำให้เกิดโรค
มนุษย์สิ่งแวดล้อม
Agent-Environment
ระยะก่อนการเกิดโรค (prepathogenesis)
Host-Environment
ระยะก่อนการเกิดโรค (prepathogenesis)
และระยะเกิดโรค (pathogenesis)
Agent-Host
ระยะก่อนการเกิดโรค (prepathogenesis)
และระยะเกิดโรค (pathogenesis)
ปัจจัยทั้ง 3
อยู่กันอย่างสมดุล
ในแง่ของปัจเจกบุคคล (Individual) หมายถึง ภาวะที่เชื้อโรคและมนุษย์อยู่
ร่วมกันภายใต้สิ่งแวดล้อมหนึ่งอย่างเป็นปกติ ไม่มีโรคเกิดขึ้นในบุคคลนั้น
ในแง่ของการเกิดโรคในชุมชน (Community) หมายถึง ประชาชนที่อยู่ใน
ชุมชนมีสุขภาพดี ไม่มีการระบาดหรือการแพร่กระจายของโรค
ปัจจัยทั้ง 3 อยู่กันอย่างไม่สมดุล
Agent เพื่ม
Host อ่อนแอ
Environment เปลี่ยนทำให้ Host อ่อนแอ
Environment เปลี่ยนทำให้ Agent เพื่ม
โรคและประเภทของโรค
โรคติดต่อ (Communicable Diseases)
โรคติดต่อแบ่งกลุ่มตามชนิดของเชื้อ
โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
โรคที่เกิดจากเชื้อคลามีเดีย
โรคที่เกิดเชื้อริกเกตเซีย
โรคที่เกิดจากเชื้อมัยโคพลาสมา
โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัว
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
โรคที่เกิดจากพยาธ
โรคที่เกิดจากปรสิตประเภทสัตว์ขาข้อ
โรคที่เกิดจากพิษของสาหร่าย
โรคติดต่อแบ่งกลุ่มตามกลวิธีหลัก
ในการป้องกันและควบคุมโรค
โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โรคติดต่อที่นำโดยแมลง
โรคติดต่อโดยการสัมผัส
โรคติดต่ออื่นๆ
แบ่งกลุ่มตามกลวิธีหลักในการป้องกันและควบคุมโรค
โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โรคติดต่อที่นำโดยแมลง
โรคติดต่อโดยการสัมผัส
โรคติดต่ออื่นๆ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
เชื้อโรคต้นเหตุ
แหล่งรังโรค
ทางออกของเชื้อโรคจากรังโรค
วิธีการถ่ายทอดเชื้อโรค
ทางที่เชื้อเข้าสู่ร่างกายคน
โรคไม่ติดต่อ(Non-Communicable Disease)
จำแนกตามสาเหตุ
1.พฤติกรรม 2.สิ่งแวดล้อม 3.พันธุกรรม 4.กลุ่มอื่นๆ
โรคพันธุกรรม (Inherited or Genetic Diseases)
การจำแนกชนิดของโรคทางพันธุกรรม
กลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของจีน (Gene Disorders)
กลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม(Chromosome Disorders)
กลุ่มโรคที่เกิดจากหลายปัจจัย/หลายจีน (กลายพันธุ์, mutation) (Multifactorial and polygenic disorders)
กลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของจีนในไมโตคอนเดรีย (Mitichondrial Disorders)
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค
แนวคิดเกี่ยวกับมลพิษในยุคสถิติทางสุขาภิบาล
เป็นทฤษฎีของนักสุขาภิบาลที่เป็นที่สนใจกันเป็นอย่างมากในช่วงยุคกลางคือ ศตวรรษที่ 19 นักสุขาภิบาลได้แสดงให้เห็นถึงวิธีและสถานที่ที่ทำการค้นหาสาเหตุต่าง ๆ ของการเกิดโรคในแง่ของตัวเลขของการป่วยและการตาย
นักสุขาภิบาลที่เป็นที่
สนใจ
William Farr
Edwin Chadwick
Friedrich Engels
Louis Rene Villerme
แนวคิดของทฤษฎีเชื้อโรคของโรคในยุควิทยาการระบาดของโรคติดต่อ
สิ่งก่อโรคสิ่งหนึ่งเกี่ยวข้องกับโรคหนึ่งโดยเฉพาะ (Single agents relating one to one to specific diseases)
ทฤษฎีนี้เสนอว่า จุลินทรีย์เป็นสาเหตุของโรคหลายโรค
นักสุขาภิบาลที่เป็นที่
สนใจ
Jakob Henle
John Snow
Louis Pasteur
Robert Koch
Leeuwenhoek
แนวคิดแบบกล่องดำในยุคของวิทยาการระบาดของโรคเรื้อรัง
สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงไปสู่การเริ่มต้นยุคของโรคเรื้อรังในยุคนี้ การเพิ่มการบำบัดด้วยเคมีและยาปฏิชีวนะพร้อมกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางการแพทย์ ผลลัพธ์ทางการรักษาทำให้หายได้จากวิธีการเหล่านี้ จึงให้หลักฐานที่ชัดเจนว่าโรคติดต่อที่รุนแรงได้รับการกำจัดลง
แนวคิดแบบกล่องชาวจีนในยุคของวิทยาการระบาดของโรคเรื้อรัง
ทฤษฎีนี้ทำให้วิทยาการระบาดมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ถิ่นที่อยู่ และสภาพแวดล้อม
คำจำกัดวามของการป้องกันและควบคุมโรค
การป้องกันโรค (Prevention) หมายถึง การกระทำ
หรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและไม่ให้กลับเป็นซ้ าในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคแล้ว
การควบคุมโรค (control) หมายถึง การลดอัตราการ
เกิดและอัตราการตายจากโรค ด้วยมาตรการแทรกแซงต่างๆ เพื่อหยุดยั้งอุบัติการณ์ของโรคไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใดก็ตาม รวมทั้งการหยุดยั้ง กระบวนการที่จะเกิดตามมาจากการเกิดโรค
การป้องกันโรค หมายถึง การลดหรือกำจัดความ
เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่งและสถานการณ์โดยการดำเนินการที่มีสัมฤทธิผล (Efficiency)
ความสำคัญการป้องกันโรค
การป้องกันโรคทให้ชุมชนมีความต้านทานโรค
ลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคของคนในชุมชนกำจัดสิ่งที่เป็นสาเหตุโดยตรงหรือการค้นหาสิ่งที่เป็นสาเหตุในชุมชนแล้วกำจัดหรือทำลายให้หมดไป
การป้องกันโรคทำให้บุคคลและครอบครัว
ไม่ได้รับผลกระทบจากโรคหรือหากได้รับจะลดน้อยลง
ซึ่งอาจจะทำให้หายจากโรค ตาย
พิการ หรือป่วยเรื้อรังได
การลดความเสี่ยงระดับประชาชน
VS การลดความเสี่ยงเฉพาะกลุ่ม
ระดับประชาชน
• ได้ประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนโดยรวม
• คุ้มค่าในเชิงนโยบาย
• สามารถกำหนดประชากรเป้าหมาย
ข้อจำกัด
• การสื่อสารความเข้าใจต้องใช้งบประมาณสูงยากต่อกาปฏิบัติ
• เห็นประโยชน์ในแต่ละคนน้อยต้องดูในภาพรวม
• ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายหน่วยงานและ
ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องจึงจะเห็นผล
เฉพาะกลุ่มเสี่ยง
• ในแต่ละคนเห็นผลลัพธ์หรือประโยชน์สูง
• มีความสนใจและตั้งใจสง เนื่องจากเป็นประโยชน์ สำหรับตัวเอง
ข้อจำกัด
• ผลต่อภาพรวมน้อย
• ค่าใช้จ่ายในการคัดกรองผู้ป่วยสูง
• มีการใช้ผิดกลุ่มหรือไม่ตรงกลุ่มเป้าหมายได้
เป้าหมายของการป้องกันโรค
ลดจำนวนประชากรที่ไวต่อโรค
เพื่อกำจัดหรือลดสาเหตุของโรคทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อให้หมดไปหรือให้คงเหลือน้อยที่สุด
ยับยั้งการแพร่กระจายของโรคลดผลกระทบต่อสุขภาพจากการเจ็บป่วยเล็กน้อยเจ็บป่วยเรื้อรังพิการหรือตาย
แนวคิดของการป้องกันโรค
ก่อนระดับปฐมภูมิ (Primordial Prevention)
เป็นระดับที่ใช้การส่งเสริมสุขภาพทำให้ประชาชนมีความ
แข็งแรงสามารถต้านทานการเกิดโรคได้เป็นการป้องกันก่อนระยะเกิดโรค โดยมุ่งเน้นที่สาเหต
ระดับปฐมภูมิ(Primary Prevention)
เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค โดยใช้การป้องกัน
เฉพาะอย่าง (specific protection) เป็นการป้องกันระยะก่อนเกิดโรค
ระดับทุติยภูมิ(Secondary Prevention)
มีวัตถุประสงค์เพื่อวินิจฉัยและรักษาโรคที่มีอยู่ในระยะต้นๆก่อน เพื่อลดความรุนแรงและป้องกันการแพร่กระจายโรคไปยังผู้อื่นซึ่งท าได้โดยการค้นหาผู้ป่วยในระยะที่ยังไม่มีอาการหรือพาหะของโรค
ระดับตติยภูมิ(Tertiary Prevention)
วัตถุประสงค์เพื่อลดผลกระทบทางลบ โดยการฟื้นฟูสุขภาพและลดอาการข้างเคียงของโรค เป็นการหยุดยั้งโรคและฟื้นฟูให้อวัยวะที่เสียหายสามารถใช้งานได้เป็นการป้องกันในระยะเกิดโรคแล้ว
ระดับจตุรภูมิ (Quaternary Prevention)
การป้องกันระดับจตุรภูมิจึงเป็นชุดของกิจกรรมทางสุขภาพ
(Set of HealthActivities) ที่จะบรรเทาหรือหลีกเลี่ยงผลที่ตามมาของการได้รับการรักษาที่ไม่จำเป็นหรือมากเกินไป
(Unnecessary Medical Intervention) ของระบบสุขภาพ
วิวัตนาการของการป้องกันและควบคุมโรค
ยุคที่ 1ตั้งแต่
พ.ศ. 2054 -2370 (317 ปี)
ยุคนี้คนไทยยังไม่รู้จักการสาธารณสุข เมื่อเจ็บป่วยจะรักษาพยาบาลกันโดยใช้ยาแผนโบราณ หรือการบีบนวด
ยุคที่ 2 ตั้งแต่
พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2475
พ.ศ. 2378 นายแพทย์แดน บีช บรัดเลย์ (Dan Beach
Bradley) เป็นผู้ริเริ่มการป้องกันโรคติดต่อที่ชัดเจนเป็นครั้งแรกในประเทศไทย
พ.ศ. 2381 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง
โปรดให้หมอหลวงไปเรียนวิธีปลูกฝีจากหมอบรัดเลย
พ.ศ. 2448 นายแพทย์อัทย์หะสิตะเวชกับนายแพทย์แฮนส์อะดัมสัน (Hans Adamson) ไปศึกษาวิธีทำหนองฝีที่ประเทศฟิลิปปินส์ จึงกลับมาผลิตหนองฝีในประเทศได
ในสมัยรัชกาลที่ 4 นายแพทย์ซามูเอล เรย์โนลดส์
เฮาส์(Samuel Reynolds House) นักเผยแพร่ศาสนาชาวอเมริกันใช้ทิงเจอร์การบูรผสมน้ำให้ดื่มช่วยในการควบคุมอหิวาตกโรคและรักษาคนไข
พ.ศ. 2413 ร.5 มีการประกาศใช้กฎหมายเกี่ยวกับการสุขาภิบาลเป็นครั้งแรก
พ.ศ. 2404คณะเพรสไบทีเรียนได้เผยแพร่การแพทย์แผนปัจจุบันออกสู่ต่างจังหวัด
พ.ศ. 2410 การแพทย์แผนปัจจุบันได้ขยายไปถึงจังหวัดเชียงใหม่
โดยศาสนาจารย์แมคกิลวารี ผู้เป็นลูกเขยของนายแพทย์บรัดเลย์นำไปเผยแพร่
เริ่มด้วยการจัดตั้ง “คณะกรรมการจัดการโรงพยาบาล” เพื่อสร้างโรงพยาบาลที่วังหลังธนบุรีหรือศิริราชพยาบาล เมื่อ พ.ศ. 2429
จัดตั้งกรมพยาบาลขึ้นแทนเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2431 และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ เป็นอธิบดีบังคับการกรมพยาบาล มีหน้าที่ควบคุมกิจการฝึกอบรมนักเรียนแพทย์และการบริหารของศิรราชพยาบาล
ยุคที่ 3 ตั้งแต่
พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน
การจัดตั้งโรงพยาบาลในส่วนภูมิภาคและการขยายงาน
บริการสู่ชนบทเพิ่มขึ้น โดยสร้างสุขศาลาชั้น 2
สร้างอาคาร “มหิดลวงศานุสรณ์”
ใน พ.ศ. 2485ศูนย์การควบคุมและ
ป้องกันโรค (Centers for Disease Controland Prevention; CDC) ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็น
สำนักงานกิจกรรมควบคุมโรคมาลาเรียแห่งชาต
2527-2532 CDC มีห้องปฏิบัติการชีวนิรภัย (Biosafety) ระดับที่ 4 ซึ่ง 1 ใน 2 รับผิดชอบไข้ทรพิษ (Smallpox) ใหญ่ที่สุดในโลก