Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.เขตอำนาจศาล การคัดค้านผู้พิพากษา คำคู่ความและเอกสาร - Coggle Diagram
4.เขตอำนาจศาล
การคัดค้านผู้พิพากษา
คำคู่ความและเอกสาร
4.2 การ
คัดค้าน
ผู้พิพากษา
4.2.1
เหตุ
คัดค้านผู้พิพากษา
4.2.2
วิธีปฏิบัติ
เมื่อมีเหตุคัดค้านผู้พิพากษา
4.3
คำคู่ความ
และเอกสาร
4.3.1
คำคู่ความ
1.คำฟ้อง
1 (3)
1.1 เริ่มคดี
คำฟ้อง
คำร้องขอ
1.2 ภายหลังเริ่มคดี
1.2.1 คำฟ้องเพิ่มเติม
หรือแก้ไขคำฟ้อง
179 - 181
1.2.2 ฟ้องแย้ง
177 วรรคสาม
และ 179 วรรคท้าย
1.2.3 คำร้องสอด
57 (1) (2)
ไม่รวม
กรณีคู่ความขอให้ศาลออกหมายเรียก
57 (3)
1.2.4 คำขอให้พิจารณาใหม่
ขณะที่ศาลยังไม่มีคำพิพากษา
199 จัตวา
ขณะที่ศาลมีคำพิพากษาแล้ว
207
ก. คำร้องขัดทรัพย์
ข. หลักเกณฑ์
1 (3)
และ การเสนอคำฟ้อง 172
และการถอนฟ้อง 176
ค. คำแถลงการณ์
ไม่ถือว่าเป็นคำฟ้อง
2.คำให้การ
1 (4)
3.คำร้อง
ที่ยื่นต่อศาล
เพื่อตั้งประเด็นระหว่างคู่ความ
4.3.2
การตรวจ
คำคู่ความ
4.3.3
หลักเกณฑ์
การส่งคำคู่ความ
และเอกสาร
1.
รูปแบบ
ของคำคู่ความเอกสาร
ที่ยื่นต่อศาล
67 รายการ.เอกสารที่ต้องส่ง
1.ชื่อศาลที่จะรับคำฟ้อง
หรือถ้าคดีอยู่ในระหว่างพิจารณา
ชื่อของศาลนั้นและหมายเลขคดี
2.ชื่อคู่ความในคดี
3.ชื่อคู่ความ
หรือบุคคลที่จะเป็นผู้รับคำคู่ความ
หรือเอกสารนั้น
1.บุคคลธรรมดา
ชัดเจน
ตัวสะกดถูกต้อง
2.
67 วรรคสาม
นิติบุคคล
ชื่อที่จดทะเบียน
โดยไม่จำต้องระบุชื่อผู้แทน
ของนิติบุคคลไว้ในคำคู่ความด้วย
แต่ในทางปฏิบัตินั้น
คู่ความจะระบุชื่อผู้แทนมาเสมอ
ครบถ้วน
4.ใจความและเหตุผล
ถ้าจำเป็น
แห่งคำคู่ความและเอกสาร
ต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
สำหรับคำร้องคำขอนั้น
เช่น
199 จัตวา
คำร้องขอพิจารณาคดีใหม่
5.วันเดือนปีที่ยื่น
และลายมือชื่อของผู้ยื่น
...
ฎ.6513/2557
ขอแก้ไขคำฟ้อง
เปลี่ยนตัวโจทก์ไม่ได้
ไม่ชอบ 67, 179
เอกสาร
คำฟ้อง
คำให้การ
คำขอโดยทำเป็นคำร้อง
หมายเรียก
หรือหมายอื่นๆ
สำเนาคำแถลงการณ์
หรือสำเนาพยานเอกสาร
2.วิธีการยื่นคำคู่ความ
68 การยื่นและส่ง
คำคู่ความและเอกสาร
68 การส่งคำคู่ความและเอกสาร
ในลักษณะนี้
ไม่ว่าการนั้นจะเป็นโดย...
2.หรือศาลทำต่อคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
หรือทุกฝ่าย
3.รวมทั้งการแจ้งคำสั่งของศาล
หรือข้อความอย่างอื่น
ไปยังคู่ความหรือบุคคลอื่นใด
1.คู่ความฝ่ายใดทำต่อศาล
หรือต่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง
อาจดำเนินการโดยทาง...
1.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
2.หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอื่นใดก็ได้
ตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กำหนดไว้ใน...
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา
โดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่
และเมื่อข้อกำหนดนั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ให้ใช้บังคับได้.
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการยื่น ส่ง และรับคำคู่ความและเอกสารทางรบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2560
1.ดำเนินการลงทะเบียนต่อศาล
โดยยื่นคำขอด้วยตนเอง
พร้อมแสดงหลักฐานประกอบการลงทะเบียน
โดย
สำนักงานศาลยุติธรรม
เป็นผู้จัดทำระบบ
และรหัสผ่านสำหรับผู้ใช้ระบบ
ผู้ใช้ระบบ
สามารถยื่น...
1.คำฟ้องตั้งต้นคดี
2.คำให้การ
3.หรือคำคู่ความอื่นๆ
4.รวมทั้งการส่งหมายเรียก
5.และการชำระเงิน
69 การยื่นคำคู่ความ
หรือเอกสารอื่นใดต่อศาลนั้น
ให้กระทำได้โดยส่งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลหรือ
ยื่นต่อศาลในระหว่างนั่งพิจารณา
69 ยื่นต่อเจ้าพนักงานศาลหรือศาล
1.ยื่นต่อเจ้าพนักงานศาลคือ
เจ้าหน้าที่รับฟ้อง
2.ยื่นต่อศาลในระหว่างพิจารณา
ศาล
3.ยื่นตามข้อบังคับประธานศาลฎีกาว่าด้วย
การส่งคำคู่ความหรือเอกสารต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลหรือคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง
โดยทาง...พ.ศ. 2550
ยื่นตามข้อบังคับ...
1.ทางไปรษณีย์
(ลงทะเบียนตอบรับ)
ไปรษณีย์
2.โทรสารหรือ
โทรสาร
ข้อบังคับนี้
ให้ใช้บังคับแก่...
3.คำขอ
4.คำแถลงและ
2.คำร้อง
5.เอกสารใดๆ
ที่คู่ความต้องยื่นต่อศาลหรือ
ส่งต่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง
1.การส่งคำคู่ความ
ยกเว้น
1.คำฟ้อง
2.คำร้องขอตั้งต้นคดี
3.คำฟ้องอุทธรณ์
4.คำฟ้องฎีกา
5.คำร้องสอด
6.คำร้องของฟ้องหรือ
ต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา
7.คำให้การ
8.คำแก้อุทธรณ์หรือ
แก้ฎีกา
9.คำบอกกล่าวหรือ
คำร้องขอถอนคำฟ้องและ
10.คำขอเลื่อนคดี
3.จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
email
หากกระทำนอกเวลาหรือ
นอกวันทำการปกติของศาล
ให้ถือว่าเป็นการส่งในเวลาแรกหรือ
วันทำการแรกที่ศาลเปิดทำการปกติถัดไป
3.
การส่ง...
แก่คู่ความหรือบุคคลภายนอก
70 การส่งคำฟ้อง
ให้เจ้าพนักงานศาลส่ง
คำคู่ความ
หรือเอกสาร
1.บรรดาคำฟ้อง
2.หมายเรียก
และหมายอื่นๆ
3.คำสั่ง
4.คำบังคับของศาล
กรณีต้องส่งคำบังคับ
ให้
เจ้าพนักงานศาล
เป็นผู้
ส่ง
ให้แก่คู่ความหรือ
บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง
แต่ว่า
1.
70 (1) หมายเรียกพยาน
วิธีการส่ง
ให้คู่ความส่งเอง
ให้คู่ความฝ่ายที่อ้างพยานนั้น
เป็นผู้ส่งโดยตรง
2 more items...
2.คำสั่ง
คำสั่ง...
2.คำสั่งกำหนดวันนั่งพิจารณา
หรือสืบพยานแล้วแต่กรณี หรือ
3.คำสั่งให้เลื่อนคดี
1.คำสั่งของศาลรวมทั้ง
วิธีการส่ง
70 (2) ลงลายมือชื่อรับรู้
ถ้าคู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องอยู่ในศาลในเวลาที่มีคำสั่ง
และได้
ลงลายมือชื่อรับรู้
ไว้
ให้ถือว่าได้ส่งโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
ให้โจทก์เสีย
ค่าธรรมเนียม
ในการส่ง
นำส่ง
คำฟ้อง โดยปกติโจทก์ไม่ต้องนำส่ง
เว้นแต่ศาลจะสั่งให้โจทก์มีหน้าที่นำส่ง.
ติดตาม
หน้าที่ติดตาม
เป็นของผู้มีหน้าที่นำส่ง
1.ถ้าศาลกำหนดให้โจทก์มีหน้านำส่ง
โจทก์ต้องติดตามว่ามีการส่งได้หรือไม่
หากส่งไม่ได้ก็มีหน้าที่ต้องแถลงต่อศาล
2.หากศาลไม่ได้สั่งให้โจทก์นำส่ง
ก็เป็นหน้าที่ของเจ้าพนักงานศาล
ต้องแจ้งให้โจทก์ทราบ
ไม่ติดตาม =
ทิ้งฟ้อง
หากส่งไม่ได้แล้วไม่มีการแถลงต่อศาล
อาจจะถือว่าเป็นการ
ทิ้งฟ้อง
ได้
...
ฎ.3966/2551
70 (2)
ให้โจทก์เสียค่าธรรมเนียมในการส่งคำบังคับ
71 การส่งคำให้การ
ครั้งแรก
1.คำให้การที่ยื่นครั้งแรก
จำเลยไม่ต้องนำส่ง
มารับ
โจทก์มีหน้าที่มารับเอง
ส่งสำเนาให้ครบ
เท่ากับจำนวนโจทก์
เพิ่มเติม
2.คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมคำให้การ
เจ้าพนักงานศาลมีหน้าทีเป็นผู้ส่ง
71 วรรคสอง
จำเลยมีหน้าที่นำส่ง
(โดยศาลไม่ต้องมีคำสั่ง)
72 การส่งคำร้อง
การส่งสำเนาคำร้อง
คำแถลงต่างๆ
วิเคราะห์ตามมาตรา
72 วรรคหนึ่ง
คำร้องและ
คำแถลงการณ์
มารับ
คู่ความอีกฝ่าย
มีหน้าที่มารับ
72 วรรคสอง
บรรดาคำร้องอื่นๆ
เจ้าพนักงานศาลส่ง
เจ้าพนักงานศาลเป็นผู้ส่ง
คู่ความฝ่ายที่ยื่นคำร้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย
72 วรรคสาม
บรรดาเอกสารอื่นๆ
ใบตอบรับ
คู่ความส่งเอง
แล้วส่งใบตอบรับต่อศาล
โดยวิธีลงไว้ในต้นฉบับว่าได้รับสำเนาแล้วและ
ลงลายมือชื่อผู้รับ กับวัน เดือน ปีที่ได้รับ
นำส่ง
ขอให้เจ้าพนักงานศาลเป็นผู้ส่ง
ผู้ขอต้องไปด้วยและ
เสียค่าธรรมเนียม
เนื้อหา
1.คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา
ไม่มีปัญหา
2.มีวันนัด
72 วรรคหนึ่ง
3.ไม่มีวันนัด
72 วรรคสาม
4.การส่ง...โดยเจ้าพนักงานศาล
73 การส่งโดยเจ้าพนักงานศาล
นำส่ง
1.คู่ความมีหน้าที่ต้องนำส่ง
ไม่ต้องนำส่ง
ไม่เสียค่าธรรมเนียม
2.คู่ความไม่มีหน้าที่ต้องนำส่ง
73 ทวิ การส่งโดยเจ้าพนักงานไปรษณีย์
ไปรษณีย์
3.การส่งโดยทางไปรษณีย์
...
1.ลงทะเบียนตอบรับ
2.ด่วนพิเศษ
ในประเทศ
เสียค่าใช้จ่าย
...
ฎ.2143/2559
หมายแจ้งคำสั่งทางโทรศัพท์
ไม่ชอบฯ
4.1 หลักเกณฑ์การส่ง
โดยเจ้าพนักงาน
4.1.1 เวลา
74 (1) กลางวัน
4.2.2 สถานที่
74 (2) ที่บ้านหรือ
ที่ทำงาน
กรณีมีภูมิลำเนาหลายแห่ง
จะส่งที่ใดก็ได้
ต้องยังเป็น...ในขณะที่ส่งไป
ต้องยังเป็นภูมิลำเนาหรือ
สำนักทำการงานของผู้รับ
ในขณะที่ส่งไป
...
ฎ.5845/2558
77 ส่งที่อื่น
การส่งคำคู่ความใน
สถานที่แห่งอื่นนอกจากภูมิลำเนาของ
ผู้รับ
ยอมรับ
1.กรณีที่ฝ่ายที่รับยอมรับ
สามารถที่จะส่งที่แห่งไหนก็ได้
ในศาล
2.การส่งที่ได้กระทำในศาล หมายถึง
การส่งในขณะที่ศาลได้เปิดทำการและ
ในศาลนี้หมายถึง
ในระหว่างพิจารณาคดีของคู่ความ
ไม่ได้หมายถึงในบริเวณศาล
จะต้องส่งให้แก่คู่ความหรือ
บุคคลที่มีชื่อระบุไว้ในคำคู่ความเท่านั้น
ไม่สามารถส่งให้แก่บริวารหรือ
ทนายความของบุคคลนั้นได้
4.1.3 ผู้รับ
76 บุคคลใดๆที่มีอายุเกินยี่สิบปี
ซึ่งอยู่ในบ้านหรือที่ทำงาน
ห้ามส่งให้ปรปักษ์
ห้ามส่งให้บุคคลที่เป็นฝ่ายปรปักษ์
75 ทนาย
64 บุคคลที่ทนายแต่งตั้ง
...
ฎ.8852/2551
การส่งหมายของเจ้าพนักงานบังคับคดีชอบแล้ว
รายงานการเดินหมายมิได้ระบุเวลา
ใช้สก๊อตเทปปิดหมายไว้ที่ประตูรั้ว
โดยไม่ใช้วิธีสอดหมายไว้ระหว่างประตูกระจกและประตูเหล็กนั้น
ปิดหมายในวันอาทิตย์
ไม่มีกฎหมายระบุว่าจะต้องส่งในวันทำการเท่านั้น
79 วรรสอง ปิดหมายแล้ว 15 วัน ใช้ได้
ระบุให้การปิดหมายมีผลใช้ได้ต่อเมื่อกำหนดเวลา 15 วัน ได้ล่วงพ้นไปแล้วนับตั้งแต่ได้ปิดหมายไว้
80 ใบรับ
4.2 หลักฐานการส่ง
1.ใบรับ หรือ
ลายมือชื่อคู่ความ หรือ
ผู้รับคำคู่ความหรือเอกสาร
2.รายงาน
ลายมือชื่อเจ้าพนักงานผู้ส่งหมาย
วิธีส่ง
วัน เดือน ปี และ
เวลาที่ส่ง
5.วิธีการส่ง
5.1
ไปรษณีย์
...
ด่วนพิเศษในประเทศ
ลงทะเบียนตอบรับ
หลักเกณฑ์
ศาลมีคำสั่ง
เจ้าพนักงานศาลมีหน้าที่เป็นผู้ส่ง
คู่ความฝ่ายที่มีหน้าที่เป็น
ผู้นำส่งเสียค่าใช้จ่าย
อยู่ภายใต้บังคับมาตรา
74 76 77
แต่ไม่รวม
75 ส่งให้ทนายไม่ได้
78 วางหมาย
5.2 วางหมาย หรือ
วางคำคู่ความ
:pencil2: แบบประเมินหลังเรียน
การวางหมาย
ไม่ใช่การส่งโดยวิธีพิเศษ
หลักเกณฑ์
1.การส่งหมายโดยชอบ หมายถึง
ส่งตามเวลา
สถานที่ และ
บุคคลเฉพาะ
คู่ความ หรือ
บุคคลที่ระบุ
ไม่รวมผู้อยู่ในบ้านหรือที่ทำงาน
ผู้รับไม่ยอมรับ โดย
ปราศจากเหตุอันชอบด้วยกฎหมาย
มีพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่มีอำนาจ หรือ
เจ้าพนักงานตำรวจ
ไปด้วยเพื่อ
เป็นพยาน
เจ้าพนักงานฝ่ายปกครองที่มีอำนาจ
ท้องที่
เจ้าพนักงานตำรวจ
ทุกชั้นยศ
ทุกท้องที่
คนใดคนหนึ่ง
82 สำเนา
5.3 คู่ความหลายคน
1.ส่งให้ทุกคน
(สำเนา)
2.ส่งให้ทนายความคนเดียว
(กรณีคู่ความหลายคนแต่งตั้งทนายความคนเดียวกัน)
83 เวลา
5.4 ส่งตามเวลา...
เมื่อได้ส่งแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาล
ภายในเวลา
มีกำหนดเวลาให้ยื่น
ก่อนเวลา
มีกำหนดเวลาให้ผู้รับจะต้องทราบล่วงหน้า
83 วรรคสอง
ล่วงหน้า
ก่อนวันเริ่มต้นนั่งพิจารณา หรือ
สืบพยาน
ไม่ต่ำกว่า 3 วัน
83 วรรคสาม
ส่งโดยตรง ต้องมี
ใบรับ
คู่ความสามารถที่จะส่งคำคู่ความ หรือ
เอกสารให้แก่ผู้รับเองได้โดยตรง
4.3.4
การส่ง
คำคู่ความ
หรือเอกสาร
โดยวิธีพิเศษ
1.ส่งไม่ได้
2.มีคำสั่ง
3.วิธีส่ง
ปิดหมาย
1.ปิดคำคู่ความ
การปิดหมาย
ปิดประกาศ
2.มอบให้เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง
หรือตำรวจ
ไปปิดประกาศ
โฆษณา
3.โฆษณา
ประกาศทางหนังสือพิมพ์
7 วัน
15 วัน
4.โดยวิธีอื่นใดตามมาตรา 79
วิธีธรรมดา
ปิดประกาศหน้าศาล
...
ฎ.1149/2556
ปิดหมายโดยไม่ชอบ
4.ผล
มีผลเมื่อพ้น...
15 วัน
หรือนานกว่านั้น
หรือตามที่ศาลเห็นสมควรกำหนด
การนับเวลา
ป.พ.พ. 193/3
เริ่มนับหนึ่งในวันถัดไปจากวันที่มีการส่ง
4.1
เขตอำนาจศาล
4.1.1
หลักทั่วไป
เกี่ยวกับเขตอำนาจศาล
1.
เหตุ
แห่งการเสนอคดีต่อศาล
คดีมีข้อพิพาท
คำฟ้อง
ม.55 ม.172 วรรคหนึ่ง
คดีไม่มีข้อพิพาท
คำร้องขอ
ม.55 ม.188(1)
2.ความหมายของ
คำฟ้อง
ม.1(3)
3.หลักเกณฑ์
การเสนอคำฟ้อง
:red_cross: การเสนอคำฟ้องต่อศาลต้องพิจารณาถึงสิ่งใดบ้าง
สภาพคำฟ้อง
ชั้นของศาล
3.อำนาจพิจารณาของศาล และ
เขตอำนาจของศาล
4.ข้อพิจารณา
ในการเสนอคำฟ้อง
ม.2
4.1 สภาพแห่งคำฟ้อง
4.1.1 เป็นคดีแพ่งทั่วไป
หรือคดีที่ต้องขึ้นศาลชำนัญพิเศษ
หรือศาลพิเศษ
4.1.2 หากเป็นคดีแพ่งทั่วไปแล้ว
ต้องพิจารณาต่อไปว่า
เป็นคดีที่มี
ทุนทรัพย์
หรือไม่
ทุนทรัพย์
คดีไม่มีทุนทรัพย์
คดีมีทุนทรัพย์
...
ศาลจังหวัด
ศาลแขวง
ศาลแพ่ง
ในเขตกรุงเทพมหานคร
คดีอุทธรณ์
ต้องพิจารณาว่า
ต้องห้ามอุทธรณ์หรือไม่
4.2 ชั้นของศาล
ศาลชั้นต้น
ม.170 วรรคหนึ่ง
เว้น
การฟ้องคดีอาญา
ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
รัฐธรรมนูญฯ 2560
ม.235(2)
ศาลอุทธรณ์
ศาลฎีกา
4.3 อำนาจศาล
ศาลแขวง
มีทุนทรัพย์
ไม่เกิน 300,000 บาท
ศาลจังหวัด
ไม่มีทุนทรัพย์
หรือมีทุนทรัพย์
เกิน 300,000 บาท
4.4
เขตศาล
ป.วิ.พ.
ม.15
4.1.2 การเสนอ
คำฟ้อง
คำฟ้องซึ่งจำเลย
มิได้อยู่ในราชอาณาจักร
และมูลคดีมิได้เกิดขึ้นในราชอาณาจักร
4 ตรี นอกอาณาจักร
ภู-แพ่ง
1.ศาลแพ่ง
3.ทรัพย์สินจำเลย
2..ศาลที่โจทก์
มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
4.ต้องมิใช่คำฟ้องเกี่ยวยด้วยอสังหาริมทรัพย์
4 ทวิ อสังหาริมทรัพย์
คือจะต้องเป็น
คำฟ้องเกี่ยวด้วยหนี้เหนือบุคคลเท่านั้น
:red_cross:
กรณีคนต่างชาติกู้เงินคนไทย และ
มีทรัพย์สินในไทยด้วย
ทำไมถึงให้ฟ้องที่ศาลที่มูลคดีเกิด
แทนที่จะฟ้องที่ศาลแพ่ง กับ
ศาลที่มีทรัพย์สินอยู่จำเลยอยู่ ?
4 ทวิ อสังหาริมทรัพย์
บังคับทรัพย์
2.คำฟ้องเกี่ยวด้วย
อสังหาริมทรัพย์
ภู - อสังหาริมทรัพย์
ฟ้องที่
ที่ตั้งอสังหาริมทรัพย์
ศาลที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู๋ในเขตศาล
:pencil2:จำเลยไม่จำเป็นต้องมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย
หรือ
ภูมิลำเนาจำเลย
ศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
อสังหาฯ
ม.139
ไม่รวม
สังหาฯพิเศษ
เรือ
มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
แพ
สัตว์พาหนะ
ฟ้องบังคับอสังฯโดยตรง
1.ฟ้องบังคับให้
โอน
ที่ดิน
หรือ
ฟ้อง
ขับไล่
2.ฟ้องเรียกเงิน
มัดจำ
และค่าเสียหาย
ตามสัญญาจะซื้อจะขาย
อสังหาริมทรัพย์
3.ฟ้องเรียกเงิน
ค่า
ขายที่ดิน
(นายหน้า)
4.ฟ้องขอให้บังคับไป
ถอน
คำ
คัดค้าน
การโอน
มรดกที่ดิน
มิได้บ่งถึงการบังคับที่ดิน
จึงมิใช่คำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์
5.การฟ้องขอให้
บังคับจำนอง
ที่ดินที่จำนอง
เป็นคำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์
6.
ค่าเสียหาย
ละเมิด
พิจารณาความเป็นอยู่
ตัวอย่าง
ฟ้องให้ส่งมอบที่ดินตาม
สัญญาซื้อขาย
1.หนี้เหนือบุคคล
4 หนี้เหนือบุคคล
บังคับตัว
ภู - เกิด
ภูมิลำนำจำเลย กับ
มูลคดีเกิด
เลือกฟ้องได้
หลายแห่ง
ภูมิลำเนา
สถานที่อยู่
ม.37
แห่งหนึ่ง
ม.38
สามีภริยา
อยู่กิน
เว้นแยก
ม.43 :red_cross:
ผู้เยาว์
ภู-ผู้แทนโดยชอบธรรม
ม.44
คนไร้ความสามารถ
ภู-ผู้อนุบาล
ม.45
ภู-ข้าราชการ
ที่ทำการตามตำแหน่งหน้าที่
ม.46
ภู-ผู้ถูกจำคุก
เรือนจำ
ม.47
ภู-นิติบุคคล
สำนักงานใหญ่
หรือเฉพาะกาล
ม.68
ภู-สาขา
ม.69
นิติบุคคล
มี 2 ประเภท
นิติบุคคลตาม ป.พ.พ.
นิติบุคคลตามกฎหมาย
พ.ร.บ.จัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆ
พ.ร.บ.จัดตั้งกระทรวงทบวงกรม
เกณฑ์
การ
เปลี่ยน
ภูมิลำเนา
1.มีการ
ย้าย
ถิ่นที่อยู่
2.และมีเจตนาชัดแจ้งว่าจะ
เปลี่ยน
ภูมิลำเนา
กรณีไม่เป็นการเปลี่ยน
ภูมิลำเนา
แจ้งย้ายชื่อจากทะเบียนบ้าน
แต่ไม่แจ้งย้ายเข้าทะเบียนบ้าน
ตามที่แจ้งไว้
ย้ายออกจากบ้านไป
โดยไม่ได้ย้ายทะเบียนบ้าน
...
เปลี่ยนภู-จำเลย
ภายหลัง
พิจารณาคดีต่อไปได้
ม.173 วรรคสอง (2)
รับฟ้องโดยหลงผิด
เพิกถอน
จำหน่ายคดี
หลักพิจารณา
มูลคดี
มูลละเมิด
เหตุละเมิด
สัญญา
ที่ทำสัญญา
ที่ประพฤติผิดสัญญา
ตัวอย่าง
สถานที่
ที่มูลคดีเกิด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
การกำหนดเขตศาลแพ่ง
และภูมิลำเนาเป็นพิเศษ
ม.3
(1) ศาลแพ่ง
เรือไทย
อากาศยานไทย
(2) ไม่อยู่ในราชอาณาจักร
ภู-ก่อนฟ้อง 2 ปี
ภู-กิจการ/ตัวแทน
ก่อนฟ้อง 2 ปี
หลัก 3 ประการ
1.
มูลคดี
ที่เกิดขึ้นในเรือไทย
หรืออากาศยานไทย
2.เรือไทยหรืออากาศยานไทยนั้น
อยู่นอก
ราชอาณาจักร
3.สามารถที่จะฟ้องคดีต่อ
ศาลแพ่ง
ได้โดยที่ไม่ต้องคำนึงถึงอำนาจศาล
เป็นบทเพิ่มสิทธิ
จาก ม.4
4.1.3 การเสนอ
คำร้อง
1.คำร้องขอใน
คดีไม่มีข้อพิพาท
ม.4(2)
ภู - เกิด
มูลคดีเกิด
ภูมิลำเนาของผู้ร้อง
2.คำร้องขอแต่งตั้ง
ผู้จัดการมรดก
ม.4 จัตวา
ภู-เจ้ามรดกตาย
ภู-ทรัพย์มรดก
:red_cross:
กรณีภรรยาของเจ้ามรดกร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
(เกี่ยวข้องกับการอยู่กินเป็นสามีภริยาจนมีบุตรด้วยกัน)?
3.คำร้องขอเกี่ยวกับ
นิติบุคคล
ม.4 เบญจ
1.ขอเพิกถอน
2.ขอเลิก
3.ขอตั้ง
หรือถอนผู้ชำระบัญชี
4.ขออื่นใด
สำนักงานใหญ่
4.ทรัพย์สิน
ม.4 ฉ
คนอพยพ
ไม่มีภูมิลำเนา
อยู่ในราชอาณาจักร
และมูลคดี
ไม่ได้เกิดขึ้น
ในราชอาณาจักร์
มีภูมิลำเนา
อยู่ในราชอาณาจักร
ม.4(2)
หลายอย่าง
หลายเขต
ศาลไหนก็ได้
ม.5
4.1.4 คำฟ้องหรือคำร้องขอที่อยู่ในเขตอำนาจของศาล
หลายศาล
เขตอำนาจ
หลายศาล
ศาลใดก็ได้
ม.5
คดี
ที่อยู่ในเขตอำนาจศาล
หลายศาล
1.
คดีที่ฟ้องจำเลยร่วมกันหลายคน
ที่
มูลความแห่งคดี
เกี่ยวข้องกัน
แต่ละคนมีภูมิลำเนาต่างกัน
หลายคน
1.ฟ้องทุกคน
ต่อหนึ่งศาล
2.ฟ้องแต่ละคน
ในแต่ละเขตศาล
2.
คดีที่มี
มูลคดีเกิด
ขึ้นหลายท้องที่
ที่อยู่เขตศาลต่างกัน
หลายท้องที่
3.
คดีที่ทรัพย์สินตั้งอยู่ในเขตศาลหลายศาล
ทรัพย์สินหลายเขต
4.
คดีที่มีหลายข้อหา
หลายข้อหา
มูลความแห่งคดี
กับมูลคดีเกิด
ต่างกัน
มูลคดีเกิด
ต้นเหตุอันเป็นที่มาแห่งการโต้แย้งสิทธิ
อันจะทำให้โจทก์เกิดอำนาจฟ้องตามสิทธินั้น
เหตุแห่งการฟ้องร้อง
มูลความแห่งคดี
ถ้าต้องรับผิดร่วมกัน
ก็เป็นกรณีที่มูลความแห่งคดีไม่อาจจะแยกจากกันได้
1.ลูกหนี้ร่วม
2.ลูกหนี้กับผู้คำประกัน
3.นายจ้างกับผู้จ้าง
4.หรือ
ตัวการกับตัวแทน
เป็นต้น
หรือ
มูลความแห่งคดีเกี่ยวข้องกัน
เกิดจากนิติเหตุเดียวกัน
หรือนิติกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
เนื้อหาแห่งคดีที่จะให้รับผิด
...
ตัวอย่าง
ผิด
สัญญาก่อสร้าง
โรงงาน
-ศาลที่ทำสัญญา
-ศาลที่ก่อสร้างโรงงาน
ฎ.4606/2550
ตัวการกับตัวแทน
มีภูมิลำเนาต่างกัน
ฎ.8638/2557
หนังสือมอบอำนาจไม่จำกัดสิทธิฟ้อง
ให้เลือกระหว่าง
ภูมิลำเนาของจำเลย
กับ
สถานที่ทำสัญญา
ฎ.11216/2558
ภูมิลำเนาของ
เจ้ามรดก
3 ราย
ที่มีทรัพย์สินเป็นมรดกร่วมกัน
4.1.5 การเสนอคำฟ้อง
คำร้องขอ
และคำร้องที่เกี่ยวเนื่องกับ
คดีเดิม
4.1.5
การเสนอคำฟ้อง
คำร้องขอ
และคำร้อง
ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีเดิม
7 สาขาคดี
หลักเกณฑ์
1.
คำร้องหรือคำฟ้อง
ที่ขอเสนอภายหลัง
เกี่ยวเนื่องกับ
คดีที่ค้างพิจารณาอยู่ในศาล
ศาลที่คดีค้างพิจารณา
เช่น
คำร้องสอด
ฟ้องแย้ง
คำร้องเกี่ยวกับ
วิธีการชั่วคราว
ก่อนศาลพิพากษา
ฎ.
ฎ.561/2491
ฎ.2541/2556
2.
คำฟ้องหรือคำร้อง
ที่เกี่ยวเนื่องกับการบังคับคดี
ตามคำพิพากษา
หรือคำสั่งของศาล
ศาลที่มีอำนาจบังคับคดี
ม.271
ม.271 วรรคหนึ่ง
(ม.302 วรรคหนึ่ง ปัจจุบัน)
ศาลที่ออกหมายบังคับคดี
คำร้องขัดทรัพย์
ต้องยื่นต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดี
ม.323, ม.7(2)
หมายถึง
4 more items...
...
ฎ.4068/2559
ฟ้องให้โอนที่ดินตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งศาลพิพากษาตามยอมแล้ว ไม่มีอำนาจฟ้องเป็นคดีใหม่ 7(2) + 271 วรรคหนึ่ง
ฎ.8612/2549
คำร้องขัดทรัพย์ฟ้องเป็นคดีใหม่ไม่ได้
ต้องยื่นต่อศาลที่พิจารณาพิพากษาและออกหมายบังคับในคดีเดิม
1 more item...
คำร้องขอให้เพิกถอนการขายทอดตลาด
271 วรรคห้า
ยื่นต่อศาลที่บังคับคดีแทนได้
แต่ทั้งนี้
ต้องยื่นก่อนส่งเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดกลับไป...
1 more item...
ม.271 วรรคสอง
ม.271 วรรคสาม
เพิกถอน
การขายทอดตลาด
ฝ่าฝืน ม.271 วรรคห้า
ก่อนบังคับเสร็จ
ศาลที่บังคับคดีแทน
หลังบังคับเสร็จ
ศาลที่ออกหมายบังคับคดี
ต่างจาก
ฟ้องแย้ง
ม.7(1)
3.
คำร้องขอให้สืบ
พยานหลักฐาน
ไว้ก่อน
ม.101
4.
คำร้องขอให้ถอนคืน
หรือเปลี่ยนแปลงคำสั่ง
ที่ศาลมีคำสั่งแต่งตั้ง
หรืออนุญาติไว้เดิม
หรือคำร้องอื่นใด
ที่เสนอเกี่ยวกับคดีที่ศาลได้มีคำพิพากษา
หรือคำสั่งไปแล้ว
ถอนคืน เปลี่ยนแปลง อื่นใด
4.1.6 การโอนคดี
รวมคดี
แยกคดี
และการดำเนินกระบวนพิจารณาต่อศาลอื่น
กรณีมีเหตุสุดวิสัย
โอน รวม แยก
เหตุสุดวิสัย