Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.คู่ความ และการเสนอคดีต่อศาล - Coggle Diagram
3.คู่ความ
และการเสนอคดีต่อศาล
3.2.
คู่ความในคดี
3.2.2.คดีที่คู่ความเป็น
ผู้ไร้ความสามารถ
หรือผู้ทำการแทนในคดี
บุคคลผู้ไร้ความสามารถ
ม.1(12)
2.คนไร้ความสามารถ
ป.พ.พ.
ม.29
1.ผู้เยาว์
ป.พ.พ.
ม.19, ม.20
1.ได้รับความยินยอม
2.ดำเนินคดีแทน
3.ร้องขอตั้งผู้แทนเฉพาะคดี
3.คนเสมือนไร้ความสามารถ
ป.พ.พ.
ม.34
และ
ผู้ทำการแทน
วิธีดำเนินคดี
ป.วิ.พ.
ม.56
ปฎิบัติตาม
ป.พ.พ. ว่าด้วยความสามารถ
ในการอนุญาติ
หรือ
ยินยอม
จะต้องทำ
เป็นหนังสือ
ยื่นต่อศาล
เพื่อรวมไว้ในสำนวนความ
ต้องยินยอมเป็นหนังสือ
3.2.3.คู่ความร่วม
ป.วิ.พ.
ม.59
1.กฎหมาย
มิได้จำกัด
ให้ในคดีหนึ่งๆ
จะต้องมีเพียงโจทก์และจำเลยเพียงคนเดียว
2.โจทก์ร่วมหรือจำเลยร่วมเหล่านั้น
มีผลประโยชน์ร่วมกัน
ในมูลความแห่งคดี
3.
ห้าม
มิให้ถือว่าบุคคลเหล่านั้น
แทน
ซึ่งกันและกัน
ข้อยกเว้น
2 กรณี
1.มูลความแห่งคดี
เป็นการชำระ
หนี้
ซึ่ง
แบ่งแยก
จากกัน
มิได้
2.เมื่อมี
กฎหมายบัญญัติ
ไว้โดยชัดแจ้ง
ให้แทนกันได้
4.
ผล
ของการเข้าแทนซึ่งกันและกัน
ตาม ม.59
จำกัด
เฉพาะเพียง
2 กรณี
เท่านั้น
1.บรรดากระบวนพิจารณา
ซึ่งได้ทำโดย
หรือทำต่อคู่ความร่วมคนหนึ่งนั้น
ให้
ถือว่า
ได้ทำโดย
หรือทำต่อ
คู่ความคนอื่น
ๆด้วย
2.การ
เลื่อนหรืองด
พิจารณาคดีซึ่งเกี่ยวกับคู่ความร่วมคนหนึ่งนั้น
ให้ใช้
ถึง
คู่ความร่วม
คนอื่น
ๆด้วย
3.2.4.การดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ป.วิ.พ. ม.222/1
หลักเกณฑ์
ป.วิ.พ. ม.222/1 ถึง ม.222/49
พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.พ.(ฉ.26) พ.ศ.2558
2.คดีผิดสัญญา
3.คดีเรียกร้องสิทธิ
ตามกฎหมายต่างๆ
ม.222/8
สิ่งแวดล้อม
การคุ้มครองผู้บริโภค
แรงงาน
หลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์
การแข่งขันทางการค้า
1.คดีละเมิด
เหตุอันสมควร
ม.222/9
ค่าขึ้นศาล
ม.222/10
3.2.1.
ความหมาย
ของคำว่าคู่ความ
ป.วิ.พ. มาตรา 1(11)
1.บุคคล
ผู้
ยื่นคำ
ฟ้อง
ม.57
2.บุคคล
ผู้ถูกฟ้อง
ต่อศาล
ม.57
3.บุคคล
ผู้
มีสิทธิกระทำการ
แทน
บุคคลนั้นๆ
4.เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์
5.ผู้แทน
เฉพาะคดี
3.ผู้
รับมอบ
อำนาจ
6.เจ้าหน้าที่คุ้มครอง
ผู้บริโภค
2.ผู้แทน
นิติ
บุคคล
1.ผู้แทนโดย
ชอบธรรม
4.ทนายความ
3.3.การร้องสอด
3.3.1.
การร้องสอด
เข้าเป็นคู่ความ
...
คดีมีข้อพิพาท
คดีไม่มีข้อพิพาท
ไม่ขัด
ป.วิ.พ. ม.188
คำร้องคัดค้าน
ผู้ร้องเป็นจำเลย
หลักเกณฑ์
ม.57
(1) คู่ความฝ่ายที่สาม
1.ระยะเวลา
1.ระหว่างพิจารณา
2.ชั้นบังคับคดี
2.อนุญาติเป็นดุลยพินิจ
3.เป็นสิทธิของตนเอง
4.คดีไม่มีข้อพิพาท
5.ศาลชั้นต้นที่ออก
หมายบังคับคดี
(2) คู่ความร่วม
1.มีส่วนได้เสีย
2.ระยะเวลา
ก่อนมีคำพิพากษา
3.อนุญาติเป็นดุลยพินิจ
4.เป็นการ
สวมสิทธิ
5.ทำได้
2 รูปแบบ
เข้าร่วม
แทนที่
(3) หมายเรียก
1.หมายเรียก
2 กรณี
(ก) คู่ความขอให้เรียก
(ข) ศาลสั่ง
หรือกฎหมายบังคับ
เรียกผู้จัดการมรดก
ป.พ.พ.
ม.1737
เรียกผู้ขาย
ป.พ.พ.
ม.477
2.อนุญาติเป็นดุลยพินิจ
ม.57(3)(ก)
3.3.2.
ผล
ของการร้องสอด
ม.57(1), (3)
1.เป็นคดีใหม่
ม.58 วรรคหนึ่ง
2.ม.57(2)
ห้าม
นอก
สิทธิเดิม
ขัด
สิทธิเดิม
3.ข้อยกเว้น
ที่ผู้ร้องสอด
ไม่ต้องผูกพัน
ตามคำพิพากษา
หรือคำสั่ง
1.ประมาท-ช้า
2.ประมาท-ไม่เถียง
3.1
หลักทั่วไป
ในการเสนอคดีต่อศาล
ป.วิ.พ.
ม.55
3.1.1.กรณีมีการ
โต้แย้งสิทธิ
หรือหน้าที่
2.โจทก์และจำเลย
ต้องมีฐานะเป็นบุคคล
3.มีการโต้แย้ง
เกี่ยวกับสิทธิ
หรือหน้าที่
ของ
บุคคลตามกฎหมายแพ่ง
1.คดีที่ได้มีการโต้แย้งสิทธิ
หรือหน้าที่
เป็นคดีมีข้อพิพาท
3.1.2.กรณีต้องการ
ใช้สิทธิ
ทางศาล
3.4.ทนายความ
และผู้รับมอบอำนาจ
3.4.1.ทนายความ
1.การตั้งทนายความ
ใบแต่งทนายความ
ม.61
ว่าความเอง
ม.60
2.อำนาจทนายความ
อำนาจว่าความ
ม.62
ไม่มีอำนาจ
จำหน่ายสิทธิ
สิทธิ
การยอมรับ
ตามที่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งเรียกร้อง
การถอนฟ้อง
การประนีประนอมยอมความ
การสละสิทธิ
การใช้สิทธิอุทธรณ์
หรือฎีกา
การขอให้พิจารณาคดีใหม่
ได้รับอำนาจ
จากตัวความ
โดยชัดแจ้ง
ระบุไว้ในใบแต่งทนาย
ทำเป็นใบมอบอำนาจในภายหลัง
ม.61
ตัวความปฎิเสธได้
รับเงินเป็นหนังสือ
ม.63
มอบฉันทะ
ม.64
3.การถอนทนายความ
ม.65
3.4.2.ผู้รับมอบอำนาจ
1.ดำเนินคดีเป็นหนังสือ
ม.60 วรรคสอง
ฟ้องคดีเป็นตราสารปิดอากรฯ
2.รับเงินเป็นหนังสือ
ม.63
3.
มอบฉันทะ
ม.64
แต่งตั้งบุคคลทำการแทน
2.วันฟังคำสั่ง
คำบังคับ
หรือคำชี้ขาด
3.รับสำเนาแห่งคำให้การ
คำร้อง
หรือเอกสารอื่นๆ
ตลอดจนแสดงการรับรู้สิ่งเหล่านั้น
(ซึ่งหมายถึงการลงชื่อรับรองการรับรู้)
1.กำหนดวันนั่งพิจารณา
หรือวันสืบพยาน
กิจการอื่นที่
ไม่สำคัญ
ถึงขนาด...
การยื่นฟ้องคดี
การยื่นคำร้องขอเลื่อนคดี
4.สอบสวนอำนาจผู้แทน
ม.66
(1) ศาลเห็นเอง
(2) คู่ความยื่นคำร้อง