Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Ectopic Pregnancy การตั้งครรภ์นอกมดลูก, อ้างอิง , ผลตรวจทางห้องปฏิบัติก…
Ectopic Pregnancy
การตั้งครรภ์นอกมดลูก
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยง
ความเสี่ยงเล็กน้อย
สูบบุหรี่
สวนล้างช่องคลอด
เคยผ่าตัดอุ้งเชิงกราน
มีเพศสัมพันธ์ก่อนอายุ 18 ปี
ความเสี่ยงสูง
เคยตั้งครรภ์นอกมดลูก
เคยเป็นอุ้งเชิงกรานอักเสบได้รับ Diethylstilbestrol (DES) ขณะอยู่ในครรภ์ตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์ตามหลังการทำหมัน
ตั้งครรภ์ขณะใส่ห่วงคุมกำเนิด
เคยผ่าตัดท่อนำไข่
ความเสี่ยงปานกลาง
มีคู่นอนหลายคน
ภาวะมีบุตรยาก
เกิดขึ้นภายในช่วงครรภ์สัปดาห์แรก ๆ
หลังไข่ผสม + สเปิร์ม ในท่อนำไข่ 3-4วัน
ไม่เคลื่อนตัวไปฝังในผนังมดลูก
ไปฝังตัวอยู่ในบริเวณท่อนำไข่ หรือในอวัยวะอื่น ๆ
อาการ/อาการแสดง
อาการปวด
อาการปวดท้องน้อย
มีประวัติการขาดระดู
มีเลือดออกกะปริดกะปรอยทางช่องคลอด
ระดูผิดปกติ
ส่วนใหญ่จะขาดระดู 25 % ไม่ขาดระดู อาจมีประวัติว่าเลือดที่ออกทางช่องคลอดเป็นระดูปกติ เลือดที่ออกทางช่องคลอดแบบกะปริดกะปรอย
การเปลี่ยนแปลงที่มดลูก
ผู้ป่วยมดลูกจะขยายขนาดใหญ่ขึ้นจากฮอร์โมนการตั้งครรภ์
การกดเจ็บที่ท้องน้อยและอุ้งเชิงกราน
มีอาการกดเจ็บบริเวณท้องน้อยอาจพบ rebound tenderness
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
ระยะแรกก่อนที่นำไข่สัญญาณชีพจะปกติ
หลังผ่าตัดจะมีภาวะความดันโลหิตต่ำ
คลำพบก้อนจากการตรวจภายใน
พบก้อนบริเวณด้านข้างของมดลูก
ขนาดของก้อนอาจโตได้ตั้งแต่ 5 ถึง 15 เซนติเมตร
เนื่องจากมีเลือดปริมาณมากเข้าไปหล่อเลี้ยงบริเวณผนังของท่อนำไข่
พยาธิสรีรวิทยา
ตำแหน่งที่เกิดบ่อย
1.ท่อนำไข่ (fallopian tube)
ampulla 75-80%
2.รังไข่ (overien) 3%
3.ช่องท้อง(abdominal) 1%
เมื่อมีการเจริญเติบโตของตัวอ่อนในท่อนำไข่
มีการแบ่งตัวและเจริญเติบโต
ทะลุชั้นเยื่อเมือกลุกลามไปชั้นกล้ามเนื้อจนถึงserosa
ลุกลามถึงหลอดเลือด
ทำให้เลือดออกในท่อนำไข่ ,บวมโตขึ้น
อาการปวด
ถ้าท่อนำไข่แตก
ตกเลือดในช่องท้อง
ช้อกจากการเสียเลือด
ความดันโลหิตต่ำ
ฝ่อไปเอง
แท้งออกทางFimbria
การรักษา
รักษาที่ไม่ต้องผ่าตัด
การรักษาด้วยยา
Methotrexate
ห้ามใช้ในผู้ป่วย
1) มีเลือดออกในช่องท้องบ่งบอกว่ามีการแตกของก้อน
3) มีความผิดปกติทางเม็ดเลือด
4) ไม่สามารถมาตรวจติดตามการรักษาได้
2) มีการทำงานของตับและไตผิดปกติ
ออกฤทธิ์ต้านกรดโฟลิคโดยตัวยาจะไปทำลายเซลล์เนื้อรกฝังตัวนอกโพรงมดลูก
ผลดีจากการได้รักษาด้วยยา
1.ขนาดก้อน ไม่ควรมีขนาดใหญ่กว่า 4 ซม.
2.ถ้ามีการเต้นของหัวใจทารกมีโอกาสไม่สำเร็จ
ระดับ B-hCG <1000 mlU/mLโอกาสได้ผลยิ่งสูง
ติดตามการได้รับยา
ดูผล B-hCG ทุกสัปดาห์จนไม่พบ
ประเมินอาการ จะมีอาการปวดท้องน้อย
ประเมินภาวะแทรกซ้อน ex. N/V ไข้ เวียนศีรษะ
การรักษาแบบประคับประคองและสังเกต
2)มีค่าB-hCG <1000 mlU/mL
1) ผู้ป่วยไม่มีอาการ ที่บ่งบอกว่ามีอาเลือดออกในช่องท้อง
3)ติดตาม B-hCG ให้ค่า แล้วค่าลดลงมากกว่าร้อยละ 50ในเวลา 7วัน
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดแบบ salpingectomy เป็นการตัดท่อนำไข่ข้างที่เกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกออก
1.ไม่ต้องการมีบุตรแล้ว
2.เป็นการตั้งครรภ์นอกมดลูกในท่อนำไข่ข้างเดิม
3.ท่อนำไข่ที่มีความเสียหายรุนแรง
4.มีโอกาสเกิดเลือดออกมาก ไม่สามารถควบคุมได้
1.การผ่าตัดแบบ salpingostomy เป็นการผ่าตัดที่เก็บท่อนำไข่ไว้เพื่อการตั้งครรภ์ในอนาคต (conservative surgery)
3.การผ่าตัดแบบ Salpingostomy การท่อนําไข่ออกเฉพาะส่วนสั้น ๆ แล้วเย็บต่อ
การวินิจฉัย
Ultrasound
การตรวจ B-hCG ในเลือด
<2000 mlU/mL
เจาะ B-hCGซ้ำอีก 48 ชม
>ร้อยละ 66
ทำการUltrasound ซ้ำเพื่อยืนยันการตั้งครรภ์ปกติ
<ร้อยละ 66
>2000 mlU/mL
ให้การวินิจฉัยว่าเป็นการท้องนอกมดลูก
การขูดมดลูก (Curettage)
นำชิ้นเนื้อตรวจ
ไม่พบ villi
พบ villi
เป็นการตั้งครรรภ์ในโพรงมดลูก
laparoscopy
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
อ้างอิง
กิติรัตน์ เตชะไตรศักดิ. (2560). ตำรานารีเวชวิทยา. กรุงเทพ : ภาควิชาสูติศาสตร-์ นรเีเวชวิทยาคณะแพทยศาสตรศรราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.
เกษมศรี ศรีสุพรรณดิฐ. (2562). ภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวชกรรม.(พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่ : คณะแพทยศ์าตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Ectopic prograncy, In: F. Gary Cunningham, Kenneth J Leveno, Steven L. Bloom, Catherine gun Y Spong .jodi S Dashe, Barbara L Hoffman, et al, editors. williams.Obstetrics.23rd ed. New York: Mc Grauw Hill; 2015. p. 239.
Jennifer LK, Kurt TB.Ectopic pergnancy : diagnosis and management. Womet. 2018;4:79-87.
ธีระ ทองสง. (2559).นรีเวชวิทยา. มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ .คณะแพทย์ศาสตร์ ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา.
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
(CBC)
hematocritลดลง
ค่าเม็ดเลือดขาว (white blood cell count) >20,000 WBC/dl.
นางสาว อุมาพร ชื่นจิตรชม