Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Typhoid fever (ไข้ไทฟอยด์) หรือ(ไข้รากสาดน้อย), นาย ธีภพ จ่ารุ่ง ชั้นปีที่…
Typhoid fever (ไข้ไทฟอยด์) หรือ(ไข้รากสาดน้อย)
สาเหตุของไข้ไทฟอยด์
เเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
Salmonella typhi
พบได้เฉพาะภายในคน
สามารถก่อโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารโดยอาจมีการแพร่กระจายจากผู้ป่วยผ่านทางอุจจาระ ซึ่งปนเปื้อนมากับอาหารและน้ำดื่ม
การขับถ่ายของเสียที่ไม่ถูกสุขอนามัย
การขับถ่ายลงแม่น้ำ
สิ่งปฏิกูลในแหล่งน้ำ
การขับถ่ายไมถูกที่
c-source of infection
primary sources
Faeces & urine of cases and carriers
Faecal carriers are more frequent than urinary carriers.
Secondary sources
contaminated
Food
Fingers
water
Flies
พยาธิสภาพ
เชื้อ s.typpi แบ่งตัว ในลำไส้เล็ก
เข้าทางน้ำเหลือง Mesenteric lymp node ไป thoracic duct
เข้าสู่กระแสเลือด ไป ตับและม้าม และต่อมน้ำเหลืองในลำไส้
1-5% ของผู้ป่วยเชื้ออยู่ในถุงน้ำดีหลังจากหายแล้ว
อาการของไข้ไทฟอยด์
ไข้ไทฟอยด์จะมีระยะฟักตัวในร่างกายอยู่ประมาณ 3 ถึง 21 วัน
เมื่อพ้นระยะฟักตัวแล้วก็จะมีเริ่มเข้าสู่ระยะที่มีอาการแสดงของโรค
อาการแรกเริ่มและถือว่าเป็นอาการเด่นชัดของไข้ไทฟอยด์ คือ ไข้
Rose spots
pink papule 2-3 mm on trunk, fade on pressure disappears in 3-4 day
อาการสำคัญ
ไข้สูง
มีผื่นแดงที่อก
อาการถ่ายเหลวเป็นซุปถั่ว Pea soup
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกในลำไส้ และภาวะลำไส้เล็กส่วนปลายทะลุ
เยื่อหุ้มกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ภาวการณ์อักเสบของเส้นประสาทส่วนปลายส่งผลทำให้แขนและขาอ่อนแรง
ปอดอักเสบ
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
เกิดฝี ตับ ม้าม และตับอ่อนอักเสบ
Investigation
• Blood culture in the 1st week (Bone marrow culture is better, but not commonly done
Leucopenia (increased WBC count
• Antibody detection (Widal) in 2nd wee
shows a diagnostic titre for S. Typhi after 7-10 days disease. It's positivity is maximum in third week
• Stool culture in the 3rd week
k • Urine culture in the 4th week
Widal Tes
Paired samples tests
Diagnostic.
O > 1 in 80
H > 1in 160
Single test not diagnostic.
H agglutinins appear first
False positives in Unapparent infection, Immunization Previously infected
การรักษาไข้ไทฟอยด์
•ผู้ป่วยควรได้รับกรับการรักษาแบบประคับประคองควบคู่กันไปด้วยเช่น
•การให้ยาลดไข้ในกรณีที่มีไข้สูงเช่นการใช้ยา paracetamol ทาน 500 มิลลิกรัมทุก ๆ 4 ถึง 6 ชั่วโมง
•การเช็ดตัวลดไข้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิของร่างกาย
•การดื่มน้ำเกลือแร่ทดแทนในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะท้องเสียหรืออาจเจียน
•ถ้าผู้ป่วยมีภาวะท้องเสียและอาเจียนที่รุนแรงอาจให้สารนำทดแทนทางหลอดเลือดได้
วิธีการป้องกันการติดเชื้อไข้ไทฟอยด์
รักษาสุขอนามัยส่วนตัวให้สะอาดเช่นล้างมือหลังจากการเข้าห้องน้ำรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ ๆ ดื่มนำที่สะอาด
ก่อนการปรุงอาหารควรล้างวัตถุดิบเช่นผักสดเนื้อสัตว์ให้สะอาดเพื่อลดการปนเปื้อนของเชื่อที่อาจติดมากับวัตถุดิบ
ช่วยกันรักษาความ 8 สะอาดของแหลงนาไม่ทิ้งขยะสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ลงแม่นำเพราะอาจจะทำให้เกิดการแพร่เชื่อในวงกว้างได้
ในกรณีที่มีผู้ป่วยใข้ไทฟอยด์อาศัยอยู่ร่วมภายในบ้านเดียวกันควรระมัดระวังเรื่องสุขอนามัยส่วนตัวของผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นควรซักเสื้อผ้าของผู้ป่วยด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรคจัดสถานที่ขับถ่ายของผู้ป่วยให้สะอาดถูกสุขลักษณะและไม่ควรให้ผู้ป่วยเป็นคนทำอาหารเพราะอาจนำเชื่อโรคปนเปื้อนไปที่อาหารได้
การฉีดวัคซีนป้องกันเชื่อไข้ไทฟอยด์ซึ่งให้ผลในการป้องกันได้เพียงแค่ 2 ถึง 5 ป
สำหรับผู้ที่ต้องการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการควรฉีดวัคซีนล่วงหน้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์
นาย ธีภพ จ่ารุ่ง ชั้นปีที่ 2 เลขที่ 33 รหัส
นักศึกษา 622001034