Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System), นางสาวพรรณภัทร พิพัฒน์พรวงศ์ …
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
หน้าที่ของระบบย่อยอาหาร
Digestion การย่อยอาหารแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ mechanical breakdown เช่น การเคี้ยว และ chemical breakdown เช่น enzyme ที่สร้างจากอวัยวะช่วยย่อย
Absorption กระบวนการดูดซึมอาหารที่ถูกย่อยเข้าสู่กระแสเลือด
Propulsion การเคลื่อนอาหารไปตามท่อทางเดินอาหาร
Elimination การขับถ่ายกากอาหาร
Ingestion การนำอาหารเข้าสู่ทางเดินอาหาร
ระบบย่อยอาหารแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1. Alimentary canal ท่อทางเดินอาหาร มีลักษณะเป็นท่อยาว
Mouth (ปาก), Pharynx (คอหอย), Esophagus (หลอดอาหาร), Stomach (กระเพาะอาหาร), Small
intestinal (ลำไส้เล็ก), Large intestinal (ลำไส้ใหญ่), Anus (ทวารหนัก)
2. Accessory organs คือ อวัยวะที่ช่วยในการย่อยอาหาร
2.1 อวัยวะที่ช่วยในการกลืนและย่อย ได้แก่ teeth (ฟัน) tongue (ลิ้น)
2.2 อวัยวะที่ช่วยสร้างและส่งสารออกไปทางท่อซึ่งเปิดสู่ท่อทางเดินอาหาร
Peritoneum (เยื่อบุช่องท้อง)
Parietal layer เป็นชั้นที่บุผนังทางด้านในของผนังหน้าท้องติดกับชั้นของกล้ามเนื้อผนังหน้าท้อง
Visceral layer เป็นเยื่อบุชั้นใน ติดกับผนังของอวัยวะในช่องท้อง (visceral organs)
แผ่นยึดอวัยวะในช่องท้อง
Transverse mesocolon
ligament หรือ fold
Mesentary
Broad sheet ของ peritonium
4.1 Greater omentum
4.2 Lessor omentum
ผนังของทางเดินอาหาร
Mucosa เนื้อเยื่อชั้นในสุด
1.1 Epithelium
1.2 lamina propria
1.3 muscularis mucosae
Submucosa
Muscularis
Serosa or Adventitia
Nerve Supply
Myenteric หรือ Auebach’s plexus
submucosal plexus (Meissner’s plexus)
ปาก ( mouth or oral cavity)
oral vestibule
oral cavity prope
คอหอย pharynx
Oropharynx
Laryngopharynx
Nasopharynx
หลอดอาหาร Esophagus
เริ่มตั้งแต่ส่วนปลายของlaryngopharynx ผ่านลงมาใน
mediastinum อยู่หน้าต่อกระดูกสันหลังลอดผ่านกระบังลมทางรูเปิด esophageal hiatus สิ้นสุดสู่ส่วนบนของกระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหาร (Stomach)
กระเพาะอาหารแบ่งออกเป็นส่วนๆ ดังนี้
Fundus
Body
Cardia หรือ cardiac region
Pylorus
กระเพาะอาหารมี 2 ริม (curvatures)
ริมบนสั้น เรียกว่า lesser curvatures
ริมล่างยาว เรียกว่า greater curvatures
โครงสร้างของผนังกระเพาะอาหาร
ชั้นนอกสุด เรียกว่า serous coat
ชั้นที่สอง เป็นชั้นกล้ามเนื้อ (muscular coat)
Mucous coat ชั้นนี้หนาที่สุด
Submucous coat
ต่อมในกระเพาะอาหาร (gastric glands)
Cardiac glands
Peptic glands
Pyloric glands
ลำไส้เล็ก (small intestine)
ลำไส้เล็กส่วนต้น ( duodenum)
ลำไส้เล็กส่วนกลาง (jejunum)
ลำไส้เล็กส่วนปลาย (ileum)
ผนังลำไส้เล็ก
ชั้น mucosa และ submucosa มีการยกตัวขึ้นเรียกว่า circular fold หรือ plicae circulares พบน้อยลงเมื่อใกล้ลำไส้ใหญ่
ชั้น mucosa มี intestinal villi ระหว่าง villi มีรอยบุ๋มลงไปในชั้น lamina propia เรียกว่า crypt of lieberkuhn หรือ intestinal glands
โครงสร้างของ villi และ crypt of lieberkuhn
มีกลุ่มน้ำเหลืองขนาดเล็ก เรียกว่า payer ‘s patches อยู่ตรงข้ามกับ mesentery พบมากที่ ilium และในชั้น submucosa ส่วน duodenum พบ Brunner’ gland หลั่งเมือกที่มีฤทธิ์เป็นด่าง
ลำไส้ใหญ่ (Large intestine)
ส่วน Cecum และ vermiform appendix เป็นล าไส้ใหญ่ส่วนต้นต่อมาจาก ileum
Colon เป็นส่วนของลำไส้ใหญ่ที่ต่อจาก cecum
Ascending colon
Transverse colon
Descending colon
Sigmoid colon
Rectum คือ ส่วนที่ต่อจาก sigmoid colon ยาวประมาณ 5 นิ้ว
Anal canal เป็นส่วนสุดท้ายของลำไส้ใหญ่ ยาว 3 ซ.ม.
หูรูดอันใน (Internal anal sphincter)
หูรูดอันนอก (External anal sphincter)
ผนังลำไส้ใหญ่
Mucosa เรียบไม่มีcircular folds และ villi
Cell บุผิวเป็นsimple columnar cell ที่มีabsorptive cells ช่วยดูดน้ำ และมีgloblet cellมากกว่าลำไส้เล็ก
Submucosa มีเนื้อเยื่อลิมฟอยด์มากกว่าที่อื่น
Muscularis มี 2 ชั้น
circular smooth muscle
longitudinal smooth muscle
ตับ (Liver)
พื้นที่ผิวของตับ
Diaphragmatic surface เป็นบริเวณด้าน
หนาและด้านบนของตับ ผิวเรียบโค้ง
Bare surface บริเวณด้านบนค่อนไปด้านหลัง
ของตับไม่มีเยื่อบุช่องท้องมาคลุม
Visceral surface บริเวณด้านหลังและ ด้านล่างของตับ พบถุงน้ าดีและหลอดเลือดด าใหญ่ IVC
Porta hepatic
ขั้วตับ เป็นร่องลึกอยู่ด้าน visceral เป็นบริเวณที่มีโครงสร้างต่าง ๆ ผ่านเข้าออกตับ
Ligament ของตับ
falciform ligament
round ligament of liver
Ligament venosum
coronary ligament of the liver
Liver lobe
Left lobe
Right lobe
หน้าที่สำคัญของตับ
หน้าที่เกี่ยวกับระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory function)
หน้าที่เกี่ยวกับการทำลายสารพิษและสิ่งแปลกปลอม
หน้าที่เกี่ยวกับการสร้างน้ำดี (Formation of bile)
หน้าที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด (Blood coagulation)
หน้าที่เกี่ยวกับเป็นแหล่งสะสมไวตามิน (Storage of vitamins)
เป็นแหล่งสะสมธาตุเหล็ก (Storage of iron)
ทำหน้าที่เกี่ยวกับ Metabolism ของสารอาหารในร่างกาย
น้ำดี Bile
ผลิตมาจากตับ มีสีเหลืองอมน้ำตาล pH 7.6-8.6 โดยปกติแล้วใน 1 วันตับจะผลิตน้ำดีได้ประมาณ 500-800 ซีซี น้ าดีประกอบด้วย bile salt, cholesterol, lecithin, bile pigments ส่วนใหญ่เป็น bilirubin, ions หลายชนิดและน้ำเมือกจากต่อมผนังของต่อมน้ำดีเอง น้ำดีมีหน้าที่ทำให้ไขมันแตกตัวเป็นหยดไขมันเล็ก ๆ ทำให้น้ าย่อยจากตับอ่อนเข้าไปย่อยสลายไขมัน
ถุงน้ำดี (Gall bladder)
ถุงน้ำดีมีลักษณะเป็นถุงคล้ายลูก Pear อยู่ไต้ตับและมี Connective tissue ยึดติดกับตับ ถุงน้ำดีทำหน้าที่เก็บน้ำดีที่เซลล์ตับผลิตมาให้และทำการดูดน้ ากลับเพื่อให้น้ำดีมีความเข้มข้นมากขึ้น ขนาดของถุงน้ำดียาวประมาณ 8-10 ซม. มีเยื่อบุ 3 ชั้น ชั้นในสุดเป็น Mucous membrane ชั้นกลางเป็น Muscular และ Fibrous tissueส่วนชั้นนอกสุดเป็น Serous membrane ซึ่งมาจาก Peritoneum
ตับอ่อน (Pancreas)
หน้าที่ของตับอ่อน
สร้างฮอร์โมนเป็น Endocrine part
สร้างน้ำย่อยเป็น Exocrine part น้ำย่อยจากตับอ่อน (Pancreatic juice)
น้ำย่อยจากตับอ่อน
มีลักษณะใสเหนียวมีฤทธิ์ เป็นด่าง มี Enzyme 5 ชนิด Trypsin, Amylase (Amylopsin), Lipase, Polypeptidase, Dipeptidase
ระบบเลือดที่มาเลี้ยงทางเดินอาหาร
Abdominal aorta
แขนงเดี่ยว
superior mesenteric artery
inferior mesenteric artery
celiac trunk
แขนงคู่
renal arteries
gonadal arteries
หลอดเลือดดำบริเวณช่องท้อง Portal circulation
Renal vein
portal vein
นางสาวพรรณภัทร พิพัฒน์พรวงศ์
หมู่เรียน63/101 รหัสนักศึกษา 634991024