Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลและการดูแลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก, นาย…
การพยาบาลและการดูแลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก
Tonsilitis / Pharyngitis
อาการ
ตุ่มใส แผลตื้นที่คอหอย/เพดานปาก เกิดจากCoxsackie Virus
เรียกว่า Herpangina
การดูแลหลังผ่าตัด
นอนตะแคง
เพื่อระบายเสมหะ น้ำลายหรือโลหิตจนกว่าจะรู้สึกตัวดี
อมน้ำาแข็ง เพื่อลดอาการบวม
สังเกตการเปลี่ยนแกปลงอย่างใกล้ชิด
แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนที่ค่อนข้างเย็น เช่น ไอศกรีมข้นๆ
ทานอาหารของเหลวอ่อนๆ เลี่ยงอาหารรสเปรี้ยว เผ็ด ถ้าปวดมากก็ทานยาแก้ปวด
ถ้ามีเลือดออกจากช่องปากควรนอนพัก ยกศีรษะสูง
ประคบ cold packบริเวณหน้าผาก เพื่อstop bleed
ประคบเย็นสลับพัก 10 นาทีไปเรื่อยๆ
กลัวคอ ทำความสะอาดบ่อยๆแปรงฟัน แต่ภายใน 24-48 hr.ให้เกลี้ยงการแปรงฟันก่อน
เกิดจาก
Beta Hemolytic streptococcus gr. A
การผ่าตัด tonsillectomy
แพทย์พิจารณาทำเมื่อเป็นเรื้อรัง
ทานยา Antibioticให้ครบ 10 วัน
ป้องกัน หัวใจรูห์มาติค และ กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน AGN
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
การรักษา
ล้างจมูกเพื่อชะล้างมูก หนองออกวันละ 2 ครั้งโดย NSS
ป้องกันการลุกลามจากจมูกไปปอดเพื่อลดเชื้อโรค
เพิ่ม
ความชุ่มชื้น บรรเทาอาการคัดจมูกและการระคายเคือง
ให้ยาแก้แพ้รายที่เป็นเรื้อรังที่มาจากโรคภูมิแพ้ ไม่แนะนำให้ยาในรายที่เป็นเฉียบพลัน
ให้ para แก้ปวดลดไข้
ให้ยา Antibiotic
ทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
ล้างจมูกก่อนพ่นยา
ระยะโรค
Acute sinusitis
ไม่เกิน 12 wk รุนแรง
Chronic sinusitis
เกิน 12 wk
ติดเชื้อแล้วก็จะบวม ทำให้เกิดการอุดตันช่องระบายโพรงจมูก
ทำให้เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
(viral croup)
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
พยาธิ อักเสบและบวมของกล่องเสียง หลอดคอ และหลอดลม
อาการ
ไอเสียงก้อง (barking cough), หายใจได้ยินเสียง stridor
อาการจะเกิดขึ้นเร็ว มักจะไม่ตอบสนองต่อการพ่นยา
ส่วนใหญ่จะพ่น Adrenaline ถ้ารุนแรงมากใส่ Endotracheal tube
เกิดจากแบคทีเรีย(รุนแรงน้อยกว่า)และไวรัส
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis) หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
เกิดอักเสบและอุดกั้นทางหลอดลม
เชื้อที่พบบ่อย Respiratory syncytial virus : RSV
อายุ6 m พบบ่อยที่สุด
มีการคั่งของเสมหะเกิดการอุดกั้นของหลอดลมฝอย ทำให้เกิดAtelectasis
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนพอ ให้อาหารที่มีประโยชน์ เป็นจำพวกโปรตีนและดื่มน้ำเยอะๆ
การดื่มน้ำเยอะๆทำให้ทางเดินหายใจชุ่มชืนและช่วยให้ขับเสมหะออกได้
หอบหืด (Asthma)
อาการ
หายใจมีเสียง
wheezing
รักษา
เลี่ยงปัจจัยที่มีผลกระตุ้น
ใช้ยาให้ถูกต้อง
เล่นกิจกรรมได้ปกติ
พ่นกลุ่ม Corticosteroids
ต้องดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้ง เพื่อป้องกันเชื้อราในปาก
ต้องได้รับยาขยายหลอดลม ออกซิเจน และลด activity
ไม่ใช้วิธีเคาะปอด
ทำให้เกิดการหดเกร็งขึ้น
การใช้ baby haler
ล้างดวยน้ำยาล้างจานและตากให้แห้ง
เวลาจะพ่น ต้องพ่นออกไปก่อน 1 ครั้ง
ทำความสะอาดบ่อยๆ
มีการตอบสนองภูมิแพ้มากกว่าปกติและไวต่อสิ่ง กระตุ้น
หลอดลมตีบแคบ
สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก
หลอดลมหดเกร็ง
ปอดบวม (Pneumonia)
การพยาบาล
นอนศีรษะสูงและนอนทับข้างทีมีพยาธิสภาพเพือให้ปอดข้างดีขยายตัวได้มีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ผู้ปวยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ถ้าเสมหะอยู่ลึก ก็เคาะปอดและ suction
เด็กโตสอนการไอทีถูกวิธี
อัตราการหายใจ
แรกเกิด
มากกว่า 60 ครั้ง /นาที
1m-1y
มากกว่า 50ครั้ง /นาที
1y-5y
มากกว่า 40 ครั้ง /นาที
รักษา
Clear airway suction เพื่อให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดื่มน้ำาเยอะๆ เพื่อระบายเสมหะ
ดูแลเกี่ยวกับการมีไข้
นาย ธีภพ จ่ารุ่ง เลขที่ 33 รหัสนักศึกษา 62111301034 ชั้นปีที่ 2