Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัย และความปลอดภัย, นางสาวปิยะวดี ไชยนุ เลขที่29 รหัสนักึกษา…
อาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
ลักษณะงาน
การป้องกัน (prevention)
ป้องกันมิให้สุขภาพอนามัยเสื่อมโทรมหรือผิดปกติ
การจัดการทำงาน (placing)
การจัดการเกี่ยวกับสภาพสิ่งแวดล้อมของการทำงานให้มีความเหมาะสม
การส่งเสริม (Promotion)
การส่งเสริมและรักษาสุขภาพ ทั้งร่างกายและจิตใจ
การปรับงานให้มีความเหมาะสมกับคน (adaptation)
การมอบหมายงานให้เหมาะสมกับคน และการปรับคนให้เหมาะสมกับสภาพของการทำงาน
ภาวะคุกคามจาก สิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพ
อุณหภูมิ
ความเย็น
สภาพสิ่งแวดล้อมที่มีความเย็น
คือมีอุณหภูมิต่ำกว่า 20 °C
ความร้อน
ทำให้เกิดอาการผิดปกติ เช่น เป็นลม อ่อนเพลีย เป็นตะคริว จากความร้อน
การควบคุมป้องกัน
ทำงานในที่โล่งแจ้ง
ทำงานภายในอาคารเพิ่มการระบายอากาศ
สวมใส่เสื้อผ้าที่ระบายความร้อน
แสง (Light)
แสงสว่างน้อยเกินไป
-ม่านตาเปิดกว้าง
-เมื่อยล้า ปวดตา
-มึนศีรษะ
-ภาวะตาไม่สู้แสง
แสงสว่างมากเกินไป
ปวดตา มึนศีรษะ
-กล้ามเนื้อหนังตากระตุก
-นอนไม่หลับ
-การมองเห็นแย่ลง
เสียง(Noise)
เสียงที่มีความดังเกิน 85 เดซิเบล ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยิน หูอื้อ หูหนวก เครียด
การควบคุมป้องกัน
การบำรุงรักษาอุปกรณ์ เครื่องมือ
เพิ่มระยะห่างระหว่างเครื่องจักร และผู้รับเสียง
การใช้อุปกรณ์ป้องกันต่อหู
ความดันบรรยากาศ
ความดันบรรยากาศสูง
ความกดอากาศต่ำ
ความสั่นสะเทือน
ทำให้การไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงปลายมือขัดข้อง อาจจะมีอาการ ชา ปวด เนื้อเยื่อตาย
รังสี (Radiation)
รังสี ที่ไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ต ระยะเวลาในการทำงานต่อเนื่องได้ 5 ปี
รังสี ตั้งแต่ 50 มิลลิซีเวิร์ต ระยะเวลาในการทำงานต่อเนื่องได้ 1 ปี
ภาวะคุกคามจาก
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
ปัจจัยทางด้านเคมี
ละออง
เส้นใย
ไอโลหะ
ควัน
ฝุ่น
แก๊ส
ไอระเหย
อันตรายต่อสุขภาพอย่างร้ายแรง เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอด โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดในสมอง และโรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
การป้องกันอันตราย
การติดฉลาก วัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด วัตถุติดไฟง่าย
การตรวจสุขภาพบุคลากรก่อนรับเข้าทำงาน
เรียนรู้ขั้นตอนและซักซ้อมการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
การทิ้งขยะในกลุ่มขยะอันตราย
ภาวะคุกคามจาก
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดโรคติดเชื้อ หรือโรคภูมิแพ้ต่างๆ ได้ รวมทั้งสัตว์มีพิษชนิดต่างๆ
การป้องกันอันตราย
ทำความสะอาดสถานที่ทำงาน
กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะโรค
ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
สิ่งคุกคามทาง
จิตวิทยาสังคม
สิ่งแวงล้อมในการทำงานที่ก่อให้เกิดสภาวะเครียด เนื่องมาจากจิตใจหรืออารมณ์ที่ได้รับความบีบคั้น กดดัน
การป้องกันด้านจิตสังคม
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เสียงไม่ดัง ไม่ร้อนมากเกินไป
จัดงานให้พอเหมาะ แบ่งเวลาทำงาน พักผ่อน ออกกำลังกาย และนอนหลับพักผ่อนเป็นเวลา
สิ่งคุมคามทางการยศาสตร์
ปัญหาที่พบ
การเจ็บป่วยจากการเคลื่อนย้ายของหนัก
การเจ็บป่วยจากท่าทางการทำงาน
การทำงานซ้ำซาก
การป้องกันด้านการยศาสตร์
ให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานเพื่อสร้างความตระหนักและส่งเสริมพฤติกรรม
ปรับสภาพการทำงาน ของเครื่องจักรและอุปกรณ์ให้เหมาะสม
จัดให้มีช่วงพักระหว่างการทำงาน
ขั้นตอนการประเมิน ความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ
การระบุ/การประเมินสิ่งคุกคาม
การประเมินขนาดสัมผัสกับการตอบสนอง
เกิดพิษแบบเฉียบพลัน
เกิดอาการภายหลังที่ได้รับสาร พิษเภายใน 24 ชม.
เกิดพิษแบบเรื้อรัง
เกิดอาการภายหลังที่ได้รับสารปริมาณน้อยๆ ติดต่อกันมากกว่า 3 เดือน
การประเมินการรับสัมผัส
การอธิบายลักษณะความเสี่ยง
ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงสูงสุด
ระดับความเสี่ยงอยู่ที่ระดับใด
กิจกรรม/พฤติกรรมที่ก่อให้ก่อให้เกิดความเสี่ยงสูง
นางสาวปิยะวดี ไชยนุ เลขที่29 รหัสนักึกษา 61128301030
23 มีนาคม 2564