Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การสร้างเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย, นาย ธีรวุฒิ…
หน่วยที่ 7 การสร้างเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
4.วิธีการวัดและประเมินจิตพิสัย
1ประเภทของผู้ทำประเมิน
ประเมินตนเอง
ให้ผู้อื่นประเมิน
2.วิธีการเก็บข้อมูล
การสังเกต
rating scale
ซักถาม/สัมภาษณ์
วัดสถานการณ์
แฟ้มผลงาน
1.องค์ประกอบหลัก
เป้าหมาย Target
ทิศทาง Direction
ความเข้ม Intensity
2.ทฤษฎีลำดับขั้นจิตพิสัยของแครธโวธและคณะ
จำแนกความรู้สึกบุคคลได้ 5 ขั้น
1.การรับรู้ ได้รู้ ได้เห็น จดจำสิ่งที่ได้รับจากการสัมผัส
2.การตอบสนอง การมีจิตใจจดจ่อ สนใจเข้ามีส่วนร่วม
3.การรู้คุณค่าหรือค่านิยม
4.การจัดระบบคุณค่า รวบรวมให้อยู่เป็นกลุ่ม
5.การสร้างลักษณะนิยมด้วยคุณค่าอย่างหนึ่งหรือซับซ้อน
3.ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
จัดลำดับขั้นการให้เหตุผลเชิงจริยธรรม 6 ขั้น
1.ระดับก่อนจริยธรรม ขึ้นอยู่กับกฏเกณฑ์ของสังคมผลเพื่อความพอใจของตนเป็นใหญ่ (ขั้น1,2)
2.ระดับปฏิบัติตามแบบแผนกฏเกณฑ์จริยธรรม จะปฏิบัติตามสิ่งที่คาดหวังไว้ของครอบครัว กลุ่ม หรือประเทศชาติ และสนับสนุนกฏเกณฑ์ของสังคมที่มี (ขั้น3,4)
3.ระดับเหนือกฏเกณฑ์ ยึดหลักจริยธรรมสากล (ขั้น5,6)
5.การวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.ระดับประถมศึกษา (ป.1-ป.3)
2.ระดับประถมศึกษา (ป.4-ป.6)
3.ระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.3)
4.ระดับมัธยมศึกษา (ม.4-ม.6)
นาย ธีรวุฒิ เจนนพกาญจน์ 62104010029