Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preterm, Preterm 35+4 Wks, ประเมินการเจริญเติบโต(อายุ), ประเภท, CC :…
-
Preterm 35+4 Wks
สาเหตุ
-
มารดาดื่มแอลกอฮอล์ , สูบบุหรี่
-
-
-
-
-
-
Bilateral cleft palate
-
-
-
การรักษา
การผ่าตัดแก้ไขเพดานโหว่
(palatoplasty , palatorrhaphy)
-
-
-
-
-
อาการเเละอาการแสดง
-
เกิดการสำลัก เพราะ ไม่มีเพดานรองรับ เมื่อมีการกลืนอาหาร อาหารจะเลื่อนตัวไปในจมูก ทำให้อาหารเข้าทางหลอดลมเกิดการสำลัก
-
-
-
-
ASD
สาเหตุ
เกิดเมื่อทารกอยู่ในครรภ์ ตามปกติหัวใจห้องบนจะถูกสร้างขึ้นในระหว่างตัวอ่อน (Embryo) มีอายุ 4-6 สัปดาห์ และมีรูเปิดถึงกันที่เรียกว่า Foramen ovale ซึ่งจะเปิดตลอดในช่วงที่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา รูเปิดนี้เป็นทางให้เลือดไหลเวียนไปปอด ภายหลังเกิดแรงดันในหัวใจห้องบนซ้ายเพิ่มสูงขึ้น Foramen ovale จึงปิด แต่ถ้าการเจริญเติบโตของผนังกั้นหัวใจห้องบนระหว่างทารกอยู่ในครรภ์ และเมื่อเกิดมาในระยะแรกล้มเหลวในการเชื่อมปิดจะเกิดโรคหัวใจ ASD
-
การรักษา
-
secundum ASD ที่มีขอบของรูรั่ว ASD มากกว่า 5 มม. และมีแรงต้านทานหลอดเลือดในปอดน้อยกว่า 8 WU.m2 รักษาด้วยการปิดรูรั่วด้วยอุปกรณ์ผ่านสายสวนหัวใจ
อาการเเละอาการเเสดง
-
-
ตรวจร่างกาย คลำได้หัวใจห้องล่างขวาโตและเต้นแรงกว่าปกติ อาจคลำ thrill และ ฟังเสียง murmur ได้บริเวณกระดูกอกด้านซ้ายบน
-
-
VSD
พยาธิสภาพ
-
-
-
- เลือดกลับสู่หัวใจมาก
ขึ้น+ความดันในหลอดเลือดที่ปอดสูง
-
สาเหตุ
-
-
ความเจ็บป่วยของมารดา เช่น มารดาเป็นเบา
หวาน หรือมารดาเป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด จะทำให้มีบุตร
เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ร้อยละ 3 – 4
-
การรักษา
ยา
-
ขนาดปานกลางเเละขนาดใหญ่ จะมีภาวะหัวใจวายร่วมด้วย ให้ยา Digitalis , ยาขับปัสสาวะ , ยาขยายหลอดเลือดและยายับยั้งการหดรัดตัวของหลอดเลือด
Digoxin 0.3 ml TF OD , Lasix 1 mg. TF q 8 hr.
การผ่าตัด
ทำเมื่ออายุน้อยกว่า 2 ปี ที่มีภาวะหัวใจวายเเละใช้ยาไม่ดีขึ้น แต่หากควบคุมอาการหัวใจวายได้ จะผ่าตัดปิดรูรั่วเมื่อ 2-3 ปี
ผ่าตัดรัดหลอดเลือดแดงปอด เพื่อลดความดันเลือดที่ปอด ทำในเด็กที่มีอาการหัวใจวายรุนเเรงและเมื่อโตขึ้นจะผ่าตัดซ่อมเเซมอย่างถาวร
ผ่าตัดซ่อมเเซมอย่างถาวร ถ้าขนาดเล็กจะผ่าตัดโดยใช้วิธีทำเป็นถุงหูรูด แต่ถ้าขนาดใหญ่จะปิดด้วย Dacron patch
อาการเเละอาการเเสดง
รูรั่วขนาด < 5 มม จะไม่มีอาการผิดปกติ ตัวเล็ก มีน้ำหนักน้อย เหนื่อยง่ายเวลาดูดนม หรือติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย แต่ไม่มีภาวะหัวใจวาย
-
รูรั่วขนาด 5-10 มม เหนื่อยง่ายเฉพาะเวลาดูดนม เหงื่อออกมาก ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต มีภาวะหัวใจวาย เช่น หายใจเร็ว หวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย บวมจากมีน้ำคั่ง บางรายอาจปอดบวมน้ำ
รูรั่วขนาด > 10 มม เหนื่อยง่ายเวลาดูดนม เหงื่อออกมาก หายใจเร็ว มักมีภาวะหัวใจวาย เวลาร้องไห้อาจมีอาการเขียว
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ตรวจหัวใจจะพบหัวใจเต้นแรง (active precordium), ฟังได้เสียง pansystolic murmur และ diastolic rumbling murmur
-
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก
ใน small VSD จะพบขนาดหัวใจและ pulmonary vascular marking ปกติ ส่วนในกลุ่ม moderate or large VSD จะพบหัวใจโต คือ left ventricular enlargement (LAE) และ left ventricular hypertrophy (LVH) ร่วมกับมี pulmonary vascular marking เพิ่มขึ้นและ PA ขนาดใหญ่ขึ้น
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography, EKG)
BPD
-
-
-
-
การรักษา
-
-
การให้ยาขับปัสสาวะ ,ยาขยายหลอดลม
Digoxin 0.3 ml TF OD , Lasix 1 mg. TF q 8 hr.
-
-
-
-
PI : Pt. C/S นน. แรกคลอด 1905 กรัม หลังคลอด มีอาการหายใจหอบเหนื่อย มี Grading ร้องมีเสียง Stedoir , Lung มีเสียง Wheezing ตัวเขียว จึง Admit NICU
-
-
-
-
-
-
-
กาญจนา ตั้งนรารัชชกิจ และคณะ. (2554). คู่มือกุมารเวชศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : พิมพ์สวย.
จรวย สุวรรณบำรุง. (2562). การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาไม่สมดุลสารน้ำ กรดด่าง และโรคติดเชื้อ : Concept and Case Report.นครศรีธรรมราช : ก.พลการพิมพ์.
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน. (2019). การพยาบาลเด็กป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด. Nursing Journal, 46, 128-138.
นงนุช สิระชัยนันท์. (2557). กุมารเวชศาสตร์ก้าวหน้า 6. กรุงเทพฯ : ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.