Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการปรึกษาแบบเผชิญความจริง - Coggle Diagram
ทฤษฎีการปรึกษาแบบเผชิญความจริง
เน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การอยู่กับปัจจุบัน
ทั้งหมดที่สามารถให้ผู้อื่นได้เป็นเพียงข้อมูล
สุดท้ายแล้วปัญหาทางจิตใจทั้งหลายล้วนเป็นปัญหาของสัมพันธภาพ
คนเดียวที่สามารถควบคุมพฤติกรรมได้ คือ เจ้าของพฤติกรรมนั้น
ความสัมพันธ์ที่เป็นปัญหามักเกิดขึ้นเสมอในชีวิต
อะไรก็ตามที่เกิดขึ้นในอดีตอาจมีความเกี่ยวข้องกับสิ่งที่บุคคลเป็นอยู่ในทุกวัน แต่บุคคลสามารถตอบสนองความต้องการได้เพียงขณะนี้ และวางแผนเพื่อตอบสนองอย่างต่อเนื่องในอนาคต
บุคคลสามารถตอบสนองความต้องการของตนเองได้โดยการกำหนดภาพในโลกคุณภาพเท่านั้น
ทุกสิ่งที่บุคคลกระทำ เป็นความประพฤติของบุคคล
ทุกคนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นพฤติกรรม โดยรวมซึ่งเกิดจากองค์ประกอบ ประการ คือ การกระทำ การคิด ความรู้สึกและอาการสรีระ
ทุกพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นการเลือกแล้ว แต่บุคคลควบคุมได้โดยตรงเพียงกระทำ และการคิดเท่านั้น ส่วนความรู้สึกและอาการของสรีระควบคุมได้โดยอ้อมจาการเลือกที่จะคิดและการกระทำ
ทุกพฤติกรรมของบุคคลถูกกำหนดโดยคำกิริยาและเรียกชื่อจากส่วนซึ่งยอมรับได้มากที่สุด
เทคนิคและวิธีการ
วิธีการนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามแนวคิด เรียกว่า WDEP system
D:Doing and Direction การกระทำและการกำหนดทิศทาง
E:Self-Evaluation การประเมินตนเอง
W:Wants ความต้องการ
P:Planning การวางแผน
แนวคิดหลัก Glasser ทุกคนเกิดมาพร้อมกับความมต้องการพื้นฐาน 5 ประการ
อำนาจ: ความต้องหารความสำเร็จและสมบูรณ์ รวมถึงความรู้สึกมีคุณค่าจากการเป็นผู้ชนะ
เสรีภาพ: ต้องการที่จะเป็นผู้เลือก ความเป็นตัวของตัวเอง การเป็นอิสระพึ่งพาตนเอง ความเป็นส่วนตัว
ความรัก: เป็นเจ้าของเป็นความต้องการในการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้อื่น ต้องการความรักจากผู้อื่น และได้รักผู้อื่น
ความสุข: ต้องการมีชีวิตที่สนุกสนาน หัวเราะ ประสบการณืที่ขบขัน ต้องการความพึงพอใจแลพตวามสนุกสนานต่างๆ
การอยู่รอด: การคงไว้ซึ่งชีวิต สุขภาพแข็งแรง
พฤติกรรม หมายถึง องค์ประกอบที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ 4 ส่วน
การคิด ความคิดที่เกิดขึ้นโดยตั้งใจและการพูดกับตัวเอง
ความรู้สึก เช่น โกรธ ซึมเศร้า
การกระทำ สิ่งที่บุคคลกระทำออกมา เช่น กำลังพูด
อาการของสรีระ เช่น กำลังปวดศ๊รษะ หรือพัฒนาการอาการแสดงของโรคทางกายที่มีสาเหตุมาจากจิตใจ