Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของการเขียนเชิงสร้างสรรค์ - Coggle Diagram
ประเภทของการเขียนเชิงสร้างสรรค์
ร้อยแก้ว
สะท้อนความสะเทือนอารมณ์โดยใช้ภาษาที่ไพเราะ
ร้อยกรอง
มีลักษณะบังคับในการแต่ง
มีความเพลิดเพลิน ผู้อ่านจะได้รับอรรถรส
บันเทิงคดี
ความเป็นมา
ตำนานเล่าขานเรื่องราวในอดีต
เกิดมาได้อย่างไร
การบอกเล่าและขับร้อง เรียกว่า วรรณกรรมประเภทดูและฟัง
ควบคู่กัการเต้นรำและพิธีกรรม
การเรียบเรียง ประพันธ์เรื่องราวขึ้น
พัฒนาการของบันเทิงคดี
บทขับร้อง เรื่องเล่า พิธีกรรม
ตำนาน นิทาน
งานเขียน
ลักษณะของบันเทิงคดีแบบเรื่องเล่า
มีเรื่อง (สาระเรื่องราว แปลกใหม่ สร้างสรรค์ ประโยชน์)
มีแนวคิด (แก่นเรื่อง)
มีภาษา (เรียงร้อยถ้อยคำภาษาที่สละสลวย ถูกต้อง)
มีกลวิธี (เล่าเรื่องให้ผู้อ่านสนใจ)
ตามลำดับปฏิทิน
เล่าตอนจบก่อน
เล่าแบบหักมุม
มีจินตนาการ สอดคล้องกับฉากและบรรยากาศ
แนวทางการเขียนเรื่องเล่า
ให้เวลาในการเขียน
ให้อารมณ์กับการเขียน (ปลอดโปร่งโล่งใจ)
เขียนโดยการระดมความคิด
เรียนรู้จากสิ่งใกล้ตัว ความสนใจ ความถนัด
เขียนจากสิ่งที่มี (ประสบการณ์ จิตใจ)
องค์ประกอบในการเขียนเรื่องบันเทิงคดี
แนวคิดหรือแก่นเรื่อง
ตัวละคร
ฉาก
ฉากสมจริง
ฉากจินตนาการ
โครงเรื่อง (เอกภาพ)
เปิดเรื่อง
ให้ผู้อ่านทราบข้อมูลเบื้องต้น
เร่งเร้าให้เกิดความอยากรู้อยากเห็น
คำชี้แจ้ง
ความขัดแย้ง
มนุษย์กับมนุษย์
มนุษย์กับสภาพแวดล้อม
มนุษย์กับตัวเอง
การดำเนินเรื่อง
การผูกปมและการขมวดปม (เห็นปมปัญหาในการติดตาม)
จุดวิกฤติของเรื่อง (ตัวละครจะต้องตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่ง)
การแก้ปมหรือภาวะการคลี่คลายของเรื่อง
การคลี่คลายเรื่อง คือ ปมปัญหาต่าง ๆ ได้คลี่คลายลง
การปิดเรื่อง
บทสนทนา
มุมมอง
สรรพนามบุรุษที่ 1
สรรพนามบุรุษที่ 3
ท่วงทำนองในการเขียน
ท่วงทำนองเขียนเข้ม (เร้าความสนใจให้ผู้อ่านคล้อยตาม)
ท่วงทำนองการเขียนมีความเป็นประจักษ์ภาพ
ท่วงทำนองกระชับรัดกุม (ใช้คำสั้นแต่ความหมายชัดเจน)
ท่วงทำนองเขียนสละสลวย
ท่วงทำนองเขียนเรียบง่าย (ไม่มีความซับซ้อน สามารถเข้าใจได้ดี)
ท่วงทำนองเขียนสูงส่ง (คำศัพท์สูง/วรรณคดี)
สารคดี
จุดมุ่งหมาย
ให้ความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์
ให้ความเพลิดเพลิน ควบคู่ความรู้
ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง
ให้ความรู้
สมัย ร.5 นักเรียนไทยที่ไปเรียน
ทางตะวันตกนำเข้ามา
ชีวประวัติ
วิชาการ
สารคดีท่องเที่ยว
สมัยร.6 เป็นที่นิยมแพร่หลาย
ประเภทสารคดี
บทความในนสพ.
ตำราวิชาการ
หนังสือท่องเที่ยว
ชีวประวัติ
บันทึก จดหมายเหตุ
อนุทิน
คติธรรม
บทวิจารณ์
บทสัมภาษณ์
หนังสืออ้างอิง
หลักในการเขียนสารคดี
สัมพันธภาพ
สารัตถภาพ
เอกภาพ
ส่วนประกอบของการเขียนสารคดี
ส่วนนำเรื่อง (น่าสนใจ ประทับใจ)
เนื้อเรื่อง (มีสาระ)
สรุปเรื่อง (ขมวดปมให้ยุติ)
การวางแผนเขียนสารคดี
การตั้งชื่อเรื่อง สั้น กระชับ จำง่าย ครอบคลุม จูงใจ
การรวบรวมข้อมูล
ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
เลือกเรื่องที่อยู่ในความสนใจของประชาชน มีข้อมูลมาก