Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anemia
A9562763-DD7D-4595-B5D0-76CBC6ABC2C9, นศพต.รุวัยดา อาลีอิสเฮาะ…
Anemia
ข้อมูลพื้นฐาน
หญิงตั้งครรภ์อายุ 31 ปี
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ สถานภาพ สมรส น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 43 กก. ส่วนสูง 150 ซม.
BMI 19.11 kg/m2
:<3: ฝากครรภ์ครั้งแรกวันที่ 9 กันยายน 2563
:<3:ฝากครรภ์ANC ทั้งหมด 9 ครั้ง
ประวัติการเจ็บป่วย
ผู้ป่วย
- ปฏิเสธโรคประจำตัว
- ปฏิเสธการผ่าตัด
- ปฏิเสธการแพ้ยา/แพ้อาหาร
- วัคซีนบาดทะยัก ครั้งที่1,2 เมื่อปี 2560 และได้รับครั้งที่ 3 เมื่อ 10 พฤษภาคม 2563
-
ประวัติการตั้งครรภ์
- G1 15 กรกฎาคม 2557 Term NL เพศชาย น้ำหนัก 2870 g ที่รพ.ศิริราช > ทารกแข็งแรงดี
- G2 21 พฤศจิกายน 2560 Term NL เพศชาย น้ำหนัก 2560 g ที่รพ.พระมงกุฏ > สำลักน้ำคร้ำทารกเข้า ICU
-
การคัดกรองเบื้องต้น
-
คัดกรองเบาหวาน
- อายุ 30 ปีขึ้นไป
- ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน (บิดาผู้ป่วยเป็นเบาหวาน)
-
-
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
-
-
:check: คำแนะนำ
- :check: ให้หญิงตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง รวมถึงอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงเกิดเบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์
- :check: ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานอาหารจำพวกโปรตีน และอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่นผักใบเขียว เพื่อป้องกันการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 2
- :check: แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์เริ่มนับลูกดิ้น เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ โดยให้แนะนำให้นับทารกดิ้นหลังรับประทานอาหาร 3 มื้อ (ใน 1 hr. ทารกควรดิ้น > 3 ครั้ง)
- :check: ให้สังเกตอาการเจ็บครรภ์ในไตรมาสที่สาม สังเกตอาการเจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์เตือน และสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องรีบมาพบแพทย์ เช่น มีเลือดออกจากทางช่องคลอด มีไข้ร่วมกับาการปวดท้องฃ
พยาธิสภาพ
-
-
-
-
-
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (iron deficiency anemia) หมายถึง ระดับฮีโมลโกลบินในเลือดต่ ากว่า 11 กรัม/เดซิลิตร หรือค่าความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงต่ ากว่า 33 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ สาเหตุเกิดจากสตรีวัยเจริญพันธุ์ ส่วนมากเก็บสะสมธาตุเหล็กไว้ไม่เพียงพอ เนื่องจาก ร่างกายสูญเสียไปกับการมีประจำเดือนร่วมกับการได้รับธาตุเหล็กจาก สารอาหารไม่เพียงพอ เมื่อตั้งครรภ์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไตรมาสที่ 1
-
ไตรมาสที่ 2.
-
ไตรมาสที่ 3
-
-
-