Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การคุ้มครองแรงงาน สุขอนามัย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย…
บทที่ 9 การคุ้มครองแรงงาน สุขอนามัย ความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
บททั่วไป
บทนี้ กล่าวถึง การคุ้มครองแรงงาน สุขอนามัย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ภายใต้สามกฎหมายหลัก ประกอบด้วย กฎหมายควบคุมอาคารประกอบกฎกระทรวงมหาดไทย และประกาศกระทรวงมหาดไทย เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
ความปลอดภัยตามกฏหมายควบคุมอาคาร
หมวด 1 การก่อสร้างอาคาร
หมวด 1 การก่อสร้างอาคาร ประกอบด้วย ในการก่อสร้างอาคาร ผู้ได้รับใบอนุญาต หรือผู้ดําเนินการต้องดําเนินการให้เป็นไปตามเงื่อนไขแห่งการอนุญาต และต้องมีผู้ควบคุมงานตามที่ระบุช่ือไว้ในใบอนุญาตอยู่ ณ ที่ทําการก่อสร้าง ถ้าผู้ควบคุมงานไม่อยู่ ต้องตั้งตัวแทนไว้ ฯลฯ (ข้อ 3) ในการก่อสร้างอาคารอยู่อาศัยสูงเกินสองชั้น ตึกแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะหรืออาคารพิเศษ
ในการก่อสร้างอาคารที่ติดต่อกับที่สาธารณะ จะก่อสร้างได้ เมื่อได้จัดให้มีสิ่งป้องกัน วัสดุร่วงหล่นที่อาจเป็นภยันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินแล้ว (ข้อ 5) ต้อง ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ในการก่อสร้างให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมและปลอดภัยกับการใช้งานอยู่เสมอ ในกรณีที่ผู็ควบคุมงานเห็นว่าเคร่ืองมือเครื่องใช้
ในการก่อสร้างอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10.00 เมตร ขึ้นไป ท่ีมีระยะราบวัดจากแนว อาคารด้านนอกถึงที่สาธารณะ หรือที่ดินต่างเจ้าของหรือผู้ครอบครองน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของความสูงของอาคาร ฯ ต้องจัดให้มีรั้วชั่วคราวสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร ปิดกั้นตามแนวเขตที่ติดต่อ กับที่สาธารณะหรือที่ดินต่างเจ้าของหรือผู้ครอบครอง และมีสิ่งป้องกันวัสดุร่วงหล่นที่อาจเป็นภยันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินด้วย
ในระหว่างการก่อสร้างอาคารที่มีความสูงต้ังแต่ 10.00 เมตรขึ้นไป ที่มีระยะ ราบวัด จากแนวอาคารด้านนอกถึงที่สาธารณะหรือที่ดินต่างเจ้าของหรือผู้ครอบครองน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของความสูงของอาคารนั้น หรืออาคารซึ่งอยู่ในโครงการจัดสรรที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยการ จัดสรรที่ดิน ผู้ดำเนินการต้องจัดให้มีมาตรการป้องกันฝุ่นละออง กั้นล้อมอาคารด้วยวัสดุหรืออุปกรณ์ที่สามารถป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง ที่เกิดจากการก่อสร้าง
หมวดที่ 2 การดัดแปลงอาคาร
(ให้นําหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการก่อสร้าง
อาคาร มาใช้บังคับฯโดยอนุโลม – ข้อ 22)
หมวดที่ 3 การรื้อถอนอาคาร
หมวดที่ 3 การรื้อถอนอาคาร ประกอบด้วย ผู้ควบคุมงานต้องศึกษารายละเอียด โครงสร้างอาคารที่จะร้ือถอน รวมทั้งสภาพแวดล้อมด้วยความรอบคอบ และต้องควบคุมการ ปฏิบัติงานของผู้ดําเนินการให้เป็นไปตามขั้นตอน วิธีการ และมีความปลอดภัยในการรื้อถอน อาคารตามที่ได้รับอนุญาต ฯ (ข้อ 23)
หมวด 4 การเคลื่อย้ายอาคาร
หมวด 4 การเคลื่อนย้ายอาคาร ประกอบด้วย ผู้ควบคุมงานต้องศึกษารายละเอียด โครงสร้างของอาคารที่จะเคลื่อนย้ายรวมทั้งสภาพแวดล้อมด้วยความรอบคอบ และต้องควบคุม การปฎิบัติงานของผู้ดําเนินการให้เป็นไปตามขั้นตอน วิธีการ และมีความมั่นคง แข็งแรง และ
ความปลอดภัยในการเคลื่อนย้ายอาคารตามที่ได้รับอนุญาต ฯ (ข้อ 30) ก่อนเคลื่อนย้ายอาคารต้องตรวจสอบและหาวิธีการป้องกันสิ่งบริการสาธารณะ ฯ และส่วนต่าง ๆ ของอาคารที่อาจตกหล่น ฯ (ข้อ 31) ในระหว่างที่ดําเนินการเกี่ยวกับโครงสร้างของอาคาร เช่น ตัด สกัด รื้อหรือถอน
หมวด 5 การใช้หรือเปลื่ยนการใช้อาคาร
หมวด 5 การใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคาร ประกอบด้วย เจ้าของหรือผู้ครอบครอง
อาคารประเภทควบคมุ การใช้ต้องดูแลรักษาและซ่อมแซมอาคารให้อยู่ในสภาพที่มั่นคง แข็งแรง
ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และมิให้เกิดภยันตรายต่อสุขภาพชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน
ตลอดเวลาที่ใช้อาคารนั้น (ข้อ 34) ต้องใช้หรือยินยอมให้บุคคลใดใช้อาคารดังกล่าว โดยมิให้มี
การกระทํา ที่อาจก่อให้เกิดเหตุรําคาญหรือกระทบกระเทือนต่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ฯ
(ข้อ 35) ฯลฯ อนึ่ง กฎกระทรวงฉบับนี้ ถูกแก้ไขเพิ่มเติม6
กฏหมายคุ้มครองแรงงาน
ความเปนมาของกฎหมายแรงงาน และการคุ้มครองแรงงาน กล่าวโดยสังเขป ดังนี้ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติแรงงาน ฉบับนี้ คือ เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 (16 มีนาคม 2515) บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับ สภาพการณ์ปัจจุบัน ประกอบกับข้อกําหนดเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงาน ออกตามประกาศคณะปฏิวัติ ฯ ดังกล่าว อยู่ในรูปประกาศกระทรวง (มีฐานะเป็นกฎหมายลําดับรอง มีปัญหาการยอมรับ ฯ) สมควรปรับปรุงบทให้เหมาะสมยิ่งขึ้น เช่น ให้อํานาจรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงเพื่อ คุ้มครองการใช้แรงงานบางประเภทเป็นพิเศษ (อาทิ ห้ามมิให้นายจ้างเลิก จ้าง ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงเพราะเหตุมีครรภ์ให้ลูกจ้างซึ่งเป็นเด็กมีสิทธิลา เพื่อศึกษาอบรม ให้นายจ้างจ่ายเงินทดแทนการขาดรายได้ของลูกจ้าง
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
มีการตราพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน เนื่องจากในปัจจุบันมีการนําเทคโนโลยีเครื่องมือ เครื่องจักร สารเคมีและสารเคมี อันตรายมาใช้ในกระบวนการผลิต การก่อสร้าง และบริการ แต่ขาดการพัฒนาความรู้ความ เข้าใจควบคู่กันไป ทําให้ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้แรงงานในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทํางาน และก่อให้เกิดอันตรายจากการทํางาน จนถึงแก่บาดเจ็บ พิการ ทุพพลภาพ เสียชีวิต หรือเกิดโรคอันเนื่องจากการทํางานซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นและทวีความรุนแรง
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน มี เนื้อหาสังเขป ดังนี้มาตรา 3 พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก้ (1) ราชการส่วนกลาง ราชการ ส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น (2) กิจการอื่นทั้งหมดหรือแต่บางส่วนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
กฏกระทรวงและระเบียบที่ออกโดยกระทรวงแรงงาน
กฎกระทรวง และระเบียบที่ออกโดยกระทรวงแรงงาน ออกโดยอาศัยอํานาจตาม กฎหมายสองฉบับ คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน หรือพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชี
วอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2547
กฎกระทรวง ว่าด้วยการจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ พ.ศ.2548
กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2549
กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อา
ชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551
กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีว
อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับ เครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ํา พ.ศ. 2552
กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชี
วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553
การบริหาร และการจัดความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในงานก่อสร้าง
กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551 เนื้อหาประกอบด้วย วิเคราะห์ศัพท์ “งานก่อสร้าง” (การประกอบการเกี่ยวกับการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างทุกชนิด เช่น อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ถนน อุโมงค์ ท่าเรือ อู่เรือ คานเรือสะพานเทียบเรอื สะพาน และอื่นๆ
มี 15 หมวดที่เกี่ยวข้อง
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 2 เขตก่อสร้าง
หมวด 3 งานไฟฟ้าและการป้องกนัอคัคภีัย
หมวด 4 งานเจาะ และงานขุด
หมวด 5 งานก่อสร้างที่มีเสาเข็มและกําแพงพืด
หมวด 6 ค้ํายัน
หมวด 7 เครื่องจักร และปั้นจั่น
หมวด 8 ลิฟต์ขนส่งวัสดุชั่วคราว และลิฟต์โดยสารชั่วคราว
หมวด 9 เชือก ลวดสลิง และรอก
หมวด 10 ทางเดินชั่วคราวยกระดับสูง
หมวด 11 การทํางานในสถานที่ที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูง การพังทลาย และ
การกระเด็นหรือตกหล่นของวัสดุ
หมวด 12 งานอุโมงค์
หมวด 13 งานก่อสร้างในน้ำ
หมวด 14 การรื้อถอนทําลาย
หมวด 15 การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
รั้ว เขตก่อสร้าง และเขตอันตราย
กฎกระทรวง ฉบับที่ 20 ในการก่อสร้างอาคารอยู่อาศัยสูงเกินสองชั้น ตึกแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะหรืออาคารพิเศษ ก่อนเริ่มลงมือก่อสร้าง ผู้ดําเนินการต้องติดป้ายเตือนขนาด
กว้างไม่น้อยกว่า 0.50 เมตร ยาวไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร ในบริเวณที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง
อาคาร และสามารถเห็นได้โดยง่ายตลอดเวลาที่ก่อสร้าง
กฎกระทรวง ฉบับที่ 21 ให้มีผู้ ควบคุมงานทําหน้าที่ตรวจความปลอดภัยในการทํางาน ก่อน และขณะทํางานทุกขั้นตอน ฯ (ข้อ 5) รักษาความสะอาดในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง ฯลฯ (ข้อ 6) มี แสงสว่างฉุกเฉินในเขตก่อสร้าง ฯ เพื่อใช้ในเวลาไฟฟ้า (ข้อ 10) ติดป้ายเตือนอันตราย ณ ทางเข้าออกของยานพาหนะ ฯ (ข้อ 11) ติดตั้งป้ายเตือน และป้ายบังคับในเขตก่อสร้าง เพื่อความปลอดภัย เช่น ให้ระวัง ห้ามเข้า ให้สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ฯ (ข้อ 13) หมวด 2 เขตก่อสร้าง ประกอบด้วย ให้นายจ้างกําหนดบริเวณเขตก่อสร้าง (ทํารั้วสูงไม่น้อยกว่าสองเมตร ฯ ตลอดแนวเขตก่อสร้าง หรือกั้นเขตด้วยวัสดุที่เหมาะสมตามลักษณะงาน และทําป้าย “เขตก่อสร้าง” - ข้อ 17) กําหนดเขตอันตรายในเขตก่อสร้าง (ทํารั้ว หรือกั้นเขตด้วยวัสดุที่ ฯ มีป้าย “เขตอันตราย” เวลากลางคืนให้ มีสัญญาณไฟสีส้ม ตลอดเวลา – ข้อ 18)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างว่าด้วยเขต ก่อสร้าง พ.ศ. 2528 ประกอบด้วย วิเคราะห์ศัพท์ (งานก่อสร้าง เขตก่อสร้าง เขตอันตราย) ให้ นายจ้างจัดทํารั้ว หรือคอกกั้น และปิดประกาศแสดงเขตก่อสร้าง กําหนดเขตอันตรายในงาน
ภาวะแวดล้อมในการทำงาน
ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับ 22 กําหนดสภาวแวดล้อมในการทํางาน ประกอบด้วยความร้อน (อุณหภูมิร่างกายขณะทํางาน ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส) แสงสว่าง กรณีทั่วไป (ไม่น้อยกว่า 50 Lux งานที่ต้องการความละเอียดเล็กน้อย ปานกลาง สูง หรือต้องการความละเอียดสูงมาก ต้องมีแสงสว่างไม่น้อยกว่า 100 200 300 และ 1,000 Lux ตามลําดับ ถนน ทางเดินภายนอก ไม่ต่ํากว่า 20 Lux โกดัง ที่เก็บวัสดุ ทางเดินเฉลียง บันไดในสถานประกอบการ ไม่
ต่ํากว่า 50 Lux) ในถ้ํา อุโมงค์ที่ซึ่งมีแสงสว่างไม่เพียงพอ (สวมหมวกแข็ง มีหรอืติดอุปกรณ์ส่องสว่างตามมาตรฐาน )
ไฟฟ้า และการป้องกันอัคคีภัย
กฎกระทรวง ฉบับ23 หมวด 3 งานไฟฟ้าและการป้องกันอัคคีภัย ส่วนที่ 1 งานไฟฟ้า ประกอบด้วย การติดตั้ง และการใช้ระบบไฟฟ้าในเขตก่อสร้าง มีสวิตช์ตัดวงจร ควบคุมการใช้ ไฟฟ้าในเขตก่อสร้าง ฯ – ข้อ 21) มีระบบป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว (ต่อสายดินสําหรับหม้อแปลง ไฟฟ้า แผงไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดต้ังอยู่กับที่ทุกชนิด ส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้ากําลังอื่น ให้ต่อสายดินกับเต้ารับที่มีจุดต่อลงดิน ฯลฯ - ข้อ 22)
การทำงานของเครื่องจักรกล
นอกจากกฎกระทรวง ฉบับที่26 มีประกาศกระทรวงมหาดไทย27 กําหนดมาตรการทํางาน เกี่ยวกับเครื่องจักรกลลักษณะต่าง ๆ ประกอบด้วย เครื่องจักรกลทั่วไป (มีหมวก ถุงมือ แว่นตา
เจาะ ขุด และป้องกันการพังทลายของดิน
กฎกระทรวง ฉบับที่ 29 หมวด 4 งานเจาะ และงานขุดประกอบด้วย การเจาะหรือขุดรู หลุม บ่อ คู และงานอื่นในลักษณะเดียวกัน (มีราวกั้น หรือรั้วกันตก แสงสว่าง และป้ายเตือน อันตราย ฯ ในเวลากลางคืนต้องจัดให้ มีสัญญาณไฟสีส้ม หรือป้ายสีสะท้อนแสง เตือนอันตราย ฯ - ข้อ30) อันตรายจากการพลัดตก (มีแผ่นโลหะ หรือวัสดุอื่นที่แข็งแรงปิดคลุม ฯ ทําราวล้อมกั้น ด้วยไม้ หรือโลหะ - ข้อ31) รู หลุม บ่อ คู และงานอื่น ฯ ลึกตั้งแตสองเมตรขึ้นไป (มีการคํานวณ ออกแบบ และกําหนดขั้นตอน ฯโดยวิศวกร ฯ ต ้องปฏิบัติตามแบบ และขั้น ต้องติดตั้ง
สิ่งป้องกันดินพังทลาย – ข้อ 32) ในบริเวณที่มีสาธารณูปโภค (เคลื่อนย้ายสาธารณูปโภคตาม
ความจําเป็น ฯลฯ – ข้อ 33) ทํางาน ฯ ซ่ึงมีความลึกตั้งแตสองเมตร ขึ้นไป
การตอกเสาเข็ม เครื่องตอกเสาเข็ม
กฎกระทรวง ฯ31 กําหนด การทําฐานรากของอาคารโดยใช้เสาเข็มด้วยการเจาะ กดหรือตอก และการขุดดินผู้ดําเนินการจะกระทํา ได้เฉพาะในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก ถ้าจะกระทํา ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ข้ึนต้องได้รับอนุญาตเป็น
หนังสือจากนายช่าง
กฎกระทรวง ฯ หมวด 5 งานก่อสร้างที่มีเสาเข็มและกําแพงพืด32 ส่วนที่ 1 เสาเข็ม ประกอบด้วย ผู้มีหน้าที่บังคับเครื่องตอกเสาเข็ม ได ฝึกอบรมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขท่ีอธิบดีประกาศกําหนด (ข้อ 39) การประกอบ ติดต้ัง ทดสอบ ใช้ซ่อมบํารุง และ
ตรวจสอบเครื่องตอกเสาเข็ม (ปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะของเครื่องตอกเสาเข็ม และคู่
มือการใช้งานที่ผู้ผลิต หรือวิศวกรได้กําหนดขึ้นเป็นหนังสือ - ข้อ 40) เครื่องตอกเสาเข็ม (ฯลฯ
โครง ฯ ต้องมียึดโยง ค้ํายัน หรือตรึง ฯลฯ (ข้อ 41) เมื่อติดตั้งเครื่องตอกเสาเข็มแล้วเสร็จ ต้อง
จัดให้มีวิศวกรตรวจบันทึกวัน เวลา และผลตรวจรับรอง ฯ แล้วจึงใช้เคร่ืองตอกเสาเข็มนั้นได้ และเก็บเอกสาร ฯ ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบ ฯ – ข้อ 42) มีคู่มือการใช้เครื่องตอก
เสาเข็ม และคู่มือการใช้สัญญาณส่ือสาร ฯ ให้ลูกจ้างศึกษา และปฏิบัติ ฯ – ข้อ 43) มีป้ายพิกัด
เครื่องจักร และปั้นจั่น
กฎกระทรวง ฯ34 หมวด 7 เครื่องจักร และปั้นจั่น ส่วนที่ 1 เครื่องจักร การติดตั้ง หรือทดสอบการใช้งานของเครื่องจักร และอุปกรณ์ใน หรือนอกอาคารซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ฯ เช่น ติดตั้ง หรือทดสอบ ระบบไฟฟ้า หรือเครื่องจักร ฯลฯ (ข้อ 69) ต้องใช้ผู้ชํานาญ และผ่าน การอบรม ฯ (ข้อ 70) มีเครื่องป้องกันอันตราย ฯ (ข้อ 71) ระวัง ฯ อันตรายจากเคร่อืงจักร หรือ วัสดุสิ่งของที่ตก (ข้อ 72) ติดตั้งอุปกรณ์เตือนอันตรายที่เครื่องจักรนั้น เช่น สัญญาณเสียง และแสงสําหรับการเดินหน้า หรือถอยหลัง ฯ และติดป้ายเตือนอันตราย ฯ (ข้อ 74)
ส่วนที่ 2 ปั้นจั่น ประกอบด้วย การทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น (มีผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านอบรมหลักสูตร การปฏิบัติหน้าที่ และต้องจัดอบรม หรือทบทวน ฯ (ข้อ 75) การประกอบ ทดสอบ ใช้ และซ่อมบํารุง ให้ปฏิบัติตามรายละเอียด
คุณลักษณะของปั้นนจั่น และคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตกําหนด หากไม่มีรายละเอียด ฯ ให้ปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะ หรอืคู่มือ ฯ ที่วิศวกรได้กําหนดขึ้นเป็นหนังสือ (ข้อ 76)
ลิฟต์ขนส่งวัสดุชั่วคราว
กฎกระทรวง ฉบับที่ 38 หมวด 8 ลิฟท์ขนส้งวัสดุชั่วคราว และลิฟต์โดยสารชั่วคราว
ประกอบด้วย ลิฟต์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลิฟต์โดยสารชั่วคราว และลิฟต์ที่ใช้ทั้งขนส่งวัสดุ
โดยสารชั่วคราว (ต้องมีรายละเอียดของหอลิฟต์ ตัวลิฟต์ ข้อกําหนดในการสร้าง และข้อ
ปฏิบัติการใช้ ฯ - ข้อ 77) การประกอบ ติดตั้ง ทดสอบ ใช้ ซ่อมบํารุง และตรวจสอบ ลิฟต์ ฯ
นายสิปปกร พิริยะอนัตกุล รหัสนิสิต 6036086 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรโยธา