Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GDMA2 G1P0000 นศพต.ณัฐนิช วงค์ไข่ เลขที่ 23 - Coggle Diagram
GDMA2
G1P0000
นศพต.ณัฐนิช วงค์ไข่ เลขที่ 23
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภูมิคุ้มกันวิทยา
19 กุมภาพันธ์ 2564
VDRL (RPR) >> Non-reactive
HBs Ag >> Negative
HIV Ab >> Negative
โลหิตวิทยา
19 กุมภาพันธ์ 2564 : GA 31+2 wk.
Complete Blood Count
WBC >> 11.97 10^3/uL (H) (4.24-10.18)
Neutrophil >> 73.0 % (H) (48.1-71.2)
Hematocrit (Hct) >> 33.6 % (L) (36.8-46.6)
Lymphocyte >> 19.1 % (L) (21.1-42.7)
Hemoglobin (Hb) >> 10.9 g/dL (L) (12.3-15.5)
28 กันยายน 2563 : GA 10+1 wk.
Complete Blood Count
MCH >> 25.0 pg (L) (25.9-32.4)
WBC >> 13.45 10^3/uL (H) (4.24-10.18)
MCV >> 77.1 fL (L) (79.9-97.6) :!:
Neutrophil >> 74.4 % (H) (48.1-71.2)
Hematocrit (Hct) >> 34.7 % (L) (36.8-46.6)
Lymphocyte >> 18.2 % (L) (21.1-42.7)
Hemoglobin (Hb) >> 11.2 g/dL (L) (12.3-15.5)
Hb typing
Hb CS >> 0.3 %
MCV (Hb Typing) >> 77.1 fL
Hb A >> 97.8 %
Interprete >> Suspected Hb constant spring :!!:
ตรวจสามี
Complete Blood Count
Neutrophil >> 74.1 % (H) (48.1-71.2)
Lymphocyte >> 20.2 % (L) (21.1-42.7)
Hb typing
Hb A >> 97.4 %
MCV (Hb Typing) >> 91.7 fL
Hb A2 >> 2.6 %
Interprete >> Normal or non clinically significant thalassemia
Hb Typing >> A2A
PCR for Alpha Thalassemia 1 gene >> NEGATIVE for Alpha Thalassemia 1
Hb A2 >> 1.9 %
Lab investigation >> ควรตรวจยีน Alpha thalassemia :!!:
Hb Typing >> CS A2A
เคมีคลินิก
18 ธันวาคม 2563 : GA 21+6 wk.
2 hr. Postprandial >> 141 mg/dL (H) (74-106) :!!:
GDMA2 :explode:
Glucose (FBS) >> 75 mg/dL (70-99)
4 ธันวาคม 2563 : GA 19+6wk.
Glucose Tolerance Test 1 >> 219 mg/dL (H) (<180) :!:
Glucose Tolerance Test 2 >> 202 mg/dL (H) (<155) :!:
Glucose Tolerance Test >> 84 mg/dL (<95)
Glucose Tolerance Test 3 >> 160 mg/dL (H) (<140) :!:
6 พฤศจิกายน 2563 : GA 15+6 wk.
Glucose Tolerance Test 2 >> 160 mg/dL (H) (<155) :!:
Glucose Tolerance Test >> 71 mg/dL (<95)
Glucose Tolerance Test 3 >> 117 mg/dL (<140)
Glucose Tolerance Test 1 >> 170 mg/dL (<180)
9 ตุลาคม 2563 : GA 11+6 wk.
Glucose Tolerance Test 2 >> 167 mg/dL (H) (<155) :!:
Glucose Tolerance Test >> 73 mg/dL (<95)
Glucose Tolerance Test 3 >> 127 mg/dL (<140)
Glucose Tolerance Test 1 >> 154 mg/dL (<180)
28 กันยายน 2563 : GA 10+1 wk.
Glucose (50 gm) >> 152 mg/dL (H) (74-106)
ธนาคารเลือด
Rh Group >> Positive
IAT/Ab screening >> Negative
ABO Group >> B
การตรวจครรภ์และตรวจร่างกาย
การตั้งครรภ์ปัจจุบัน
G1P0000
GA 35+6 wk. by U/S
LMP จำไม่ได้
EDC by U/S 21 เมษายน 2564
จำนวนครั้งการฝากครรภ์ทั้งหมดถึงปัจจุบัน 15 ครั้ง
28 กันยายน 2563
U/S ประเมินอายุครรภ์
10+1 wk. by U/S
Glucose (50 gm)
152 mg/dL :!:
9 ตุลาคม 2563
11+6 wk. by U/S
OGTT 73-154-167-127 :!:
6 พฤศจิกายน 2563
15+6 wk. by U/S
OGTT 71-170-160-117 :!:
4 ธันวาคม 2563
19+6 wk. by U/S
OGTT 84-219-202-160 :!!:
GDM :!!:
18 ธันวาคม 2563
21+6 wk. by U/S
Glucose (FBS) 75
2 hr. Postprandial 141 :!!:
GDMA2 :explode:
On insuliin 10-6-10
15 มกราคม 2564
26+2 wk. by U/S
19 กุมภาพันธ์ 2564
31+2 wk. by U/S
23 กุมภาพันธ์ 2564
31+6 wk. by U/S
2 มีนาคม 2564
32+6 wk. by U/S
NST
Reactive
5 มีนาคม 2564
33+2 wk. by U/S
NST
Reactive
10 มีนาคม 2564
34 wk. by U/S
NST
Reactive
ยา GDMA2
Novorapid 10-2-0-0 unit sc ac.
Gensulin N. 14 unit at 21.00 น.
12 มีนาคม 2564
34+2 wk. by U/S
NST
Reactive
16 มีนาคม 2564
34+5 wk. by U/S
NST
Reactive
19 มีนาคม 2564
35+2 wk. by U/S
NST
Reactive
23 มีนาคม 2564
35+6 wk. by U/S
NST
Reactive
BMI 27.24 kg./m2 สามารถเพิ่มน้ำหนักได้ 7.0-11.5 kg.
น้ำหนักปัจจุบัน 71.9 kg.
ตลอดการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น 3.9 kg.
ไตรมาส 2
(14-28 wk.)
ควรเพิ่ม 0.23-0.33 kg./wk.
ลดลง 0.9 kg.
ไตรมาส 3
(29-42 wk.)
ควรเพิ่ม 0.23-0.33 kg./wk.
เพิ่มขึ้น 1.5 kg.
ไตรมาส 1
(1-13 wk.)
ควรเพิ่ม 0.5-2.0 kg./ไตรมาส
เพิ่มขึ้น 3.3 kg.
การตรวจร่างกาย (23 มีนาคม 2564)
ต่อมไทรอยด์
ไม่มีบวมหรือโต กดไม่เจ็บ
เต้านมและหัวนม
เต้านมและหัวนมปกติ หัวนมไม่สั้น บอด หรือบุ๋ม
ช่องปาก
ไม่มีฟันผุ ไม่มีเหงือกบวม
ขา
ไม่มีบวมกดบุ๋ม
ตา
Conjungtiva เป็นสีชมพูดี ไม่มีภาวะซีด
การตรวจครรภ์ (23 มีนาคม 2564)
ดู
Striae gravidarum
ไม่พบ
ทารกอยู่ในแนว Longitudinal lie
Linea nigra
เป็นเส้นตรงยาวแนวกลางหน้าท้อง สีดำ
คลำ
Umbilical grip
Large part อยู่ด้านขวา
ทารกอยู่ในแนว Longitudinal lie
Pawlik's grip
Head float
Vertex presentation
Fundal grip
3/4 > สะดือ
Bilateral inguinal grip
Head float
ฟัง
FHS 130 bpm
พยาธิ
GDM
โรคเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ เป็นความผิดปกติของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต จากภาวะดื้ออินซูลินหรือการใช้อินซูลินในร่างกาย ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ อาจเป็นโรคเรื้อรังก่อนการตั้งครรภ์หรือเป็นขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมีฤทธิ์ต้านอินซูลินโดยรกและฮอร์โมนจากรกทำให้เกิดการเผาผลาญในร่างกายผิดปกติ
ผลของโรคเบาหวาน
การตั้งครรภ์
ภาวะน้ำคร่ำมาก (Polyhydramnios)
การติดเชื้อ (Infection)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension disorder)
ภาวะกรดคีโตนจากเบาหวาน (Diabetic ketoacidosis : DKA)
คลอดยาก (Dystocia)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
แท้งเอง (Spontaneous abortion)
ทารกในครรภ์หรือแรกเกิด
กลุ่มอาการหายใจลำบาก (Respiratory distress syndrome : RDS)
ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 mg/dl (Hypoglycemia)
บาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
ภาวะระดับแคลเซียมในเลือดต่ำกว่า 7 mg/dl (Hypocalcemia)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Intreuterine growth restriction)
ภาวะระดับบิลลิรูบินในเลือดสูง (Hyperbilirubinemia)
ทารกตัวโต (Macrosomia)
ภาวะเลือดข้น (Polycythemia)
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital malformation)
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
มีประวัติเคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ :green_cross:
BMI > 24.9 kg./m2 :check:
มีประวัติความดันสูงก่อนหรือขณะตั้งครรภ์ :green_cross:
หญิงตั้งครรภ์อายุมากกว่า 30 ปี :check:
เคยคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 g, แท้งบ่อย, ทารกเสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุ :green_cross:
คนในครอบครัวเป็นเบาหวาน :green_cross:
มีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน :green_cross:
GCT (หาความเสี่ยงเป็นเบาหวาน)
< 140 mg/dl :check:
≥ 140 mg/dl :green_cross:
อีก 1 สัปดาห์นัดมาทำ OGTT
28 กันยายน 2563 >> 152 mg/dl
ทาน Glucose 50 gm.
OGTT (ยืนยันเบาหวาน)
< 95, 180, 155, 140 mg/dl :check:
≥ 95, 180, 155, 140 mg/dl :green_cross:
9 ตุลาคม 2563 >> 73, 154, 167 (H), 127 :!:
6 พฤศจิกายน 2563 >> 71, 170, 160 (H), 117 :!:
4 ธันวาคม 2563 >> 84, 219 (H), 202 (H), 160 (H) :!!:
ทาน Glucose 100 gm
ผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป นัดอีก 1 เดือน
FBS
2 hr. Postprandial
ขั้นตอน
เจาะเลือดเพื่อหาระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร (FBS) 1 เข็ม
ทาน Glucose 100 gm. ผสมน้ำอย่างน้อย 300-400 ml. ภายในเวลา 5 นาที
งดน้ำงดอาหารก่อนมาเจาะเลือดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
เจาะเลือด 3 เข็ม เมื่อครบ 1, 2, 3 ชั่วโมงตามลำดับ หลังทาน Glucose
FBS, 2 hr. Postprandial (จำแนกชนิดเบาหวาน)
FBS
≥ 95 mg/dl = GDMA2
< 95 mg/dl = GDMA1
75 mg/dl
2 hr. Postprandial
< 120 mg/dl = GDMA1
≥ 120 mg/dl = GDMA1
18 ธันวาคม 2563 >> 141 mg/dl (H) :!!:
1 more item...
ขั้นตอน
ทานอาหารตามปกติ
เจาะเลือด 1 เข็ม เพื่อหาระดับน้ำตาลเมื่อทานอาหารครบ 2 ชั่วโมง
เจาะเลือดเพื่อหาระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร (FBS) 1 เข็ม
งดน้ำงดอาหารก่อนมาเจาะเลือดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
การรักษา
GDMA1
ควบคุมอาหาร
GDMA2
ควบคุมอาหาร
รับยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ฉีดยาอินซูลิน
Novorapid 10-2-0-0 unit sc ac
Gensulin N. 14 unit at 21.00 น.
Insulin 10-6-10
3 ครั้ง/วัน
ก่อนอาหารกลางวัน
ก่อนอาหารเช้า
ก่อนนอน
เจาะ DTX 5 ครั้ง/วัน
หลังอาหารกลางวัน
หลังอาหารเย็น
หลังอาหารเช้า
ก่อนนอน
ก่อนอาหารเช้า
Overweight
ผลกระทบ
หญิงตั้งครรภ์
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
ลิ่มเลือดอุดตัน
คลอดยาก
ทารก
เสียชีวิตในครรภ์
เกิดความพิการ
แท้ง
ตัวโต
BMI 27.24 kg./m2 :!!:
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไตรมาส 1
เสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
กิจกรรมการพยาบาล
หาปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เช่น อายุ น้ำหนัก โรคประจำตัว ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว เป็นต้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวานขณะตั้งครรภ์และวิธีการคัดกรอง
คัดกรองความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ โดยการตรวจ GCT หากค่าระดับน้ำตาลในเลือด ≥ 140 mg/dl ให้นัดมาตรวจ OGTT ในอีก 1 สัปดาห์
ให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจ OGTT ให้งดน้ำและอาหารก่อนมาตรวจอย่างน้อย 8 ชั่วโมง และจะได้รับการเจาะเลือด 4 เข็ม
หลังทาน Glucose 100 gm. 1 ชั่วโมง
หลังทาน Glucose 100 gm. 2 ชั่วโมง
ขณะอดอาหาร
หลังทาน Glucose 100 gm. 3 ชั่วโมง
ตรวจ OGTT เพื่อวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน โดยค่าระดับน้ำตาลในเลือดที่ปกติจากการเจาะเลือด 4 เข็ม ต้องได้ < 95, 180, 155, 140 mg/dl ตามลำดับ หากค่าระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าค่าดังกล่าว 2 ค่าขึ้นไป ให้นัดมาตรวจ FBS และ 2 hr. Postprandial ในอีก 1 เดือน
แนะนำมารดาเรื่องรับประทานอาหาร ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ลดปริมาณอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต และเน้นอาหารประเภทโปรตีนและวิตามินเกลือแร่
ตรวจ FBS ให้งดน้ำและอาหารก่อนมาตรวจอย่างน้อย 8 ชั่วโมง เพื่อเจาะเลือด 1 เข็ม หลังจากนั้นให้หญิงตั้งครรภ์สามารถรับประทานอาหารได้ แล้วเจาะเลือดอีกครั้งหลังทานอาหารครบ 2 ชั่วโมง เพื่อตรวจ 2 hr. Postprandial
FBS < 95 mg/dl หรือ 2 hr. Postprandial < 120 mg/dl = GDMA1
FBS ≥ 95 mg/dl หรือ 2 hr. Postprandial ≥ 120 mg/dl = GDMA2
ผลการประเมิน
ค่า GCT
28 กันยายน 2563 >> 152 (H) mg/dl แสดงว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน
ค่า OGTT
9 ตุลาคม 2563 >> 73, 154, 167 (H), 127 mg/dl แสดงว่าเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน
6 พฤศจิกายน 2563 >> 71, 170, 160 (H), 117 mg/dl แสดงว่าเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน
4 ธันวาคม 2563 >> 84, 219 (H), 202 (H), 160 (H) mg/dl แสดงว่าเป็นโรคเบาหวาน
ค่า FBS และ 2 hr. Postprandial
FBS 18 ธันวาคม 2563 >> 75 mg/dl
2 hr. Postprandial 18 ธันวาคม 2563 >> 141 (H) mg/dl แสดงว่าเป็น GDMA2 :explode:
เกณฑ์การประเมินผล
ค่า GCT อยู่ในเกณฑ์ปกติ
< 140 mg/dl
ค่า OGTT อยู่ในเกณฑ์ปกติ
< 95, 180, 155, 140 mg/dl
วัตถุประสงค์
เพื่อคัดกรองความเสี่ยงและป้องกันไม่ให้หญิงตั้งครรภ์เกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ข้อมูลสนับสนุน
หญิงตั้งครรภ์อายุ 34 ปี
BMI 27.24 kg./m2
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเป็นธาลัสซีเมีย
ข้อมูลสนับสนุน
ผลการตรวจเลือดหญิงตั้งครรภ์
Hb typing
Hb CS >> 0.3 %
MCV (Hb Typing) >> 77.1 fL :!!:
Hb A >> 97.8 %
Interprete >> Suspected Hb constant spring :!!:
Hb A2 >> 1.9 %
Lab investigation >> ควรตรวจยีน Alpha thalassemia :!!:
Hb Typing >> CS A2A
วัตถุประสงค์
เพื่อคัดกรองความเสี่ยงในการเกิดธาลัสซีเมียของทารกในครรภ์
เกณฑ์การประเมินผล
ผลการตรวจเลือดของสามีหญิงตั้งครรภ์
MCV > 80 fL
Hb E screen >> Negative
กิจกรรมการพยาบาล
ซักประวัติเพื่อหาปัจจัยเสี่ยงในการเกิดธาลัสซีเมียของทารกในครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและวิธีการคัดกรองให้หญิงตั้งครรภ์ทราบ
แนะนำให้สามีของหญิงตั้งครรภ์ตรวจเลือดเพื่อคัดกรองความเสี่ยงในการเกิดธาลัสซีเมียของทารกในครรภ์
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ เน้นอาหารประเภทโปรตีนและกรดโฟลิค เลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เพราะร่างกายมีธาตุเหล็กจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลาย หากทานอาหารที่มีธาตุเหล็กจะเกิดการสะสมของธาตุเหล็กในร่างกายที่มากเกินไป
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้มาตรวจตามนัดสม่ำเสมอ เพื่อสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงหรืออาการที่ผิดปกติ
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้ทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์เป็นประจำสม่ำเสมอ ได้แก่ Folic acid 1x1 po pc โดยรับประทานหลังอาหารเช้า
ผลการประเมิน
หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงภาวะแทรกซ้องที่อาจเกิดกับทารกในครรภ์
หญิงตั้งครรภ์รับประทานอาหารและยาตามคำแนะนำได้อย่างถูกต้อง และเป็นประจำสม่ำเสมอ
ผลการตรวจเลือดสามีของหญิงตั้งครรภ์
Hb typing
Hb A >> 97.4 %
MCV (Hb Typing) >> 91.7 fL
Hb A2 >> 2.6 %
Interprete >> Normal or non clinically significant thalassemia
Hb Typing >> A2A
PCR for Alpha Thalassemia 1 gene >> NEGATIVE for Alpha Thalassemia 1 แสดงว่า ทารกในครรภ์ไม่มีความเสี่ยงที่จะเป็น Thalassemia Major Typing
ไตรมาส 2
เสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลสูงหรือต่ำเนื่องจากเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ค่า DTX อยู่ในช่วงปกติ
หญิงตั้งครรภ์ฉีดยาครบตามคำสั่งการรักษาของแพทย์
หญิงตั้งครรภ์สามารถควบคุมการรับประทานอาหารตามคำแนะนำได้
ไม่มีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น ผิวแห้ง คลื่นไส้ อาเจียน ซึมลง หรือหมดสติ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำหรือสูง ได้แก่ อาการเหงื่อออก ตัวเย็น ผิวหนังแห้ง คลื่นไส้ อาเจียน ซึมลง หรือหมดสติ
แนะนำให้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ เลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง ลดอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เน้นอาหารประเภทโปรตีน และวิตามินเกลือแร่
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้มาพบแพทย์ตามนัดสม่ำเสมอ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามอาการของระดับน้ำตาลในเลือดที่ผิดปกติ
เน้นย้ำหญิงตั้งครรภ์ให้ฉีดยาครบและตรงตามเวลา ตามการรักษาของแพทย์
เน้นย้ำหญิงตั้งครรภ์ในการเจาะ DTX ตรงตามเวลาและสม่ำเสมอ เพื่อสังเกอาการผิดปกติของค่าระดับ
น้ำตาลในเลือด
วัตถุประสงค์
เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผลการประเมิน
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
หญิงตั้งครรภ์ฉีดยาครบตรงตามเวลา ได้แก่ ฉีดวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า ก่อนอาหารกลางวัน และก่อนนอน
ค่า DTX อยู่ในช่วงปกติ
หญิงตั้งครรภ์สามารถควบคุมการรับประทานอาหารได้ โดยมักจะรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตเป็นข้าวกล้อง และเน้นอาหารที่เป็นผักเป็นส่วนใหญ่
หญิงตั้งครรภ์ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำหรือสูง
ข้อมูลสนับสนุน
หญิงตั้งครรภ์ GA 35+6 wk. by U/S
ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็น GDMA2
ได้รับอินซูลิน 3 ครั้งต่อวัน
Insulin 10-6-10
Novorapid 10-2-0-0 unit sc ac
Gensulin N. 14 unit at 21.00 น.
ไตรมาส 3
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ
เกณฑ์การประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะครรภ์เป็นพิษ ได้แก่ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยเฉพาะค่าความดันโลหิต ไม่เกิน 140/90 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยเฉพาะค่าความดันโลหิต ไม่เกิน 140/90 mmHg
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้สังเกตอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติ ได้แก่ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้เลี่ยงการทำกิจกรรมที่ต้องใช้แรงมาก เพราะจะเป็นการเพิ่มแรงดัน ทำให้ค่าความดันโลหิตสูงขึ้นได้
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อช่วยให้การไหลเวียนโลหิตกลับเข้าสู่หัวใจและไปสู่รกได้ดีขึ้น
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้มาพบแพทย์ตามนัดทุกครั้งอย่างสม่ำเสมอ เพื่อประเมินสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ให้จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เป็นระเบียบ และพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อลดสิ่งกระตุ้นในการทำงานของสมอง ช่วยให้หญิงตั้งครรภ์รู้สึกผ่อนคลาย
วัตถุประสงค์
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ
ผลการประเมิน
ค่าความดันโลหิตอยู่สูกกว่าเกณฑ์ปกติ GA 35+6 137/105 mmHg
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะครรภ์เป็นพิษ ได้แก่ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี
ข้อมูลสนับสนุน
ตรวจปัสสาวะพบ Albumin 1+
31+6 wk.
32+6 wk.
33+2 wk.
34+2 wk.
35+2 wk
35+6 wk
ค่าความดันของหญิงตั้งครรภ์เพิ่มสูงขึ้นจากค่าความดันปกติ
การตรวจพิเศษ
NST
Reactive
12 มีนาคม 2564
16 มีนาคม 2564
10 มีนาคม 2564
19 มีนาคม 2564
5 มีนาคม 2564
23 มีนาคม 2564
2 มีนาคม 2564
Ultrasound
28 กันยายน 2563
Fetal number >> 1
CRL (mm./wks.) >> 32.3 mm./10+1 wk.
Confirm GA >> 10+1 wk. by U/S
18 ธันวาคม 2563
AC (mm./wks.) >> 21+1
FL (mm./wks.) >> 21+3
HC (mm./wks.) >> 21+2
Est. fetal weight (gm) >> 438
BPD (mm./wks.) >> 21+5
Comment >> No obvious major fetal Abnormalities which could be Ultrasonographically demonstrated at present
Screening >> GA 21+6 wk.
ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลส่วนตัว
สถานภาพสมรส สมรส
อาชีพ -
ระดับการศึกษา ม.4
รายได้ -
ศาสนา พุทธ
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 68 kg.
สัญชาติ พม่า
ส่วนสูง 158 cm.
เชื้อชาติ พม่า
BMI 27.24 kg./m2 :!!:
Overweight :explode:
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 34 ปี
คัดกรอง
ธาลัสซีเมีย
เบาหวาน
ประวัติการเจ็บป่วย
ผู้ป่วย
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วย
ปฏิเสธการแพ้ยา อาหาร สารเคมี
ได้รับวัคซีนบาดทะยัก 2 เข็ม
4 ธันวาคม 2563
15 มกราคม 2564
ครอบครัว
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
คำแนะนำ
อาการเจ็บครรภ์จริง
มีน้ำคร่ำและ/หรือมูกเลือด ออกทางช่องคลอด
ปวดท้องถี่ พักแล้วไม่หายปวด
รู้สึกท้องแข็ง ปวดหลังส่วนล่างร้าวไปหน้าขา