Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการติดเชื้อ, นางสาวกัลยา ทาไธสง 613060106-5 sec…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการติดเชื้อ
1.Leptospirosis
พยาธิสภาพและพยาธิกำเนิด
เชื้อ Leptospirosis เข้าทางผิวหนังหรือเยื่อบุที่มีแผลและเข้าสู่กระแสโลหิตภายใน 24 ชั่วโมงและกระจายไปตามอวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะไตตับเยื่อหุ้มสมองและเนื้อสมองโดยไม่ทราบกลไกที่แท้จริง แต่เชื่อว่าเป็นผลจากปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่เกิดจากตัวเชื้อโดยตรงร่วมกับปฏิกิริยาการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายเมื่อมีการติดเชื้อ
การวินิจฉัยจากประวัติ
•ประวัติอาชีพการสัมผัสสัตว์รังโรคการไปเดินลุยน้ำตามท้องนาท้องร่องก่อนป่วย
•ไข้เป็นไข้เฉียบพลันไข้ขึ้นวันละ 2-3 ครั้ง
•อาการร่วมอื่น ๆ ซึ่งไม่จำเพาะเจาะจง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
•การทดสอบ Genus Specific
•การทดสอบ Serogroup specific
•การทดสอบอื่น ๆ > CBC พบ WBC ต่ำกว่า 10,000/ microL,
การรักษา
การรักษาเฉพาะในผู้ป่วย Leptospirosis มีดังนี้
อาการไม่รุนแรงจะให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอกให้ยาปฏิชีวนะรักษาเป็นเวลา 7 วัน ได้แก่
-Doxycycline ขนาด 100 มิลลิกรัมวันละ 2 ครั้งหลังอาหารทันทีนาน 7 วัน
-Amoxicillin หรือ Ampicillin ขนาด 500 มิลลิกรัมวันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร
อาการรุนแรงหรืออาจมีภาวะแทรกซ้อนและรับไว้รักษาในโรงพยาบาลให้ใช้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำ ได้แก่ Penicillin G sodium, Doxycycline หรือ Ceftriaxone
มาลาเรีย (MALARIA)
Causative agent เป็น Protozoa ใน Genus Plasmodium ซึ่งมี 5 Species ได้แก่ P. falciparum, P. vivax, P.ovale, P.malariae, P Knowlesi
อาการและอาการแสดง
-มีไข้ขึ้น ๆ ลง ๆ อาจ> 40 C
-หนาวสั่น
-การมีไข้จะเกิดเป็นพัก ๆ ตามวงจรที่ไม่อาศัยเพศในคน
การวินิจฉัยโรค
•การตรวจร่างกายมักตรวจทางภาวะซีดอาการตัวและเหลือง (ดีซ่าน) พบจุดจำเลือดตามร่างกายคลำตับและโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-Thick smear
-Thin film
การซักประวัติ: exposure
การรักษาแบบประคับประคอง
-รักษาตามอาการภาวะแทรกซ้อนที่มักพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ Plasmodium falciparum เช่น ไตวายเฉียบพลันดีซ่านไข้สูงปอดบวมน้ำน้ำตาลในเลือดต่ำ
Melioidosis
เชื้อก่อโรค: เกิดจากเชื้อ Burkholderia pseudomallei (เดิมคือ Pseudomonas pseudomallei)
อาการและอาการแสดง
การติดเชื้อโดยไม่มีอาการอาจมีไข้เป็นเวลานานน้ำหนักลด
ส่วนใหญ่ติดเชื้อที่ปอดจะมีใช้ไอมีเสมหะเล็กน้อยน้ำหนักลดเจ็บหน้าอก
การติดเชื้อเฉียบพลันในกระแสเลือดจะมีอาการรุนแรงและตายเร็ว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ: ใช้วิธีทาง Serology เพื่อตรวจ Antibody
CBC พบ Leukopenia
การเพาะแยกเชื้อจากเสมหะหนองหรือเลือดการทดสอบ Serogroup คือการตรวจ IHA
CXR พบปอดเป็นโพรงฝีเล็ก ๆ ปอดอักเสบหรือปอดบวมน้ำ
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา Ceftazidime 50 mg / kg ถึง 2 g IV ทุก 6 ชั่วโมง Meropenem (25 mg / kg ถึง 1 g V ทุก 8 ชั่วโมง Imipenem (25 mg / kg ถึง 1g IV ทุก 6 ชั่วโมง 2. การผ่าตัด
ไข้หวัดนก
H5N1
•ในทางเดินอาหารของนกปกติติดต่อเฉพาะนกและสัตว์ปีกพบเชื้อได้จาก
•นกน้ำ นกชายทะเล นกอพยพ ห่าน นกป่า เป็ดป่า (ไม่แสดงอาการ)
•เป็ดไก่ไก่งวงในฟาร์มและในบ้าน
อาการและอาการแสดงในคน
•ระยะฟักตัวในคน 1-3 วันหลังรับเชื้อไวรัส
•มีอาการของระบบทางเดินหายใจติดเชื้อเป็นหลัก
•มีไข้สูงหนาวสั่นปวดศีรษะ
•หอบหายใจล้าบากมีน้ำมูกไอและเจ็บคอ
•ปวดเมื่อยกล้ามเนื้ออ่อนเพลีย
•อาจมีอาการตาแดงซึ่งหายเองได้ภายใน 2-7 วัน-หากมีอาการแทรกซ้อนจะมีอาการรุนแรง
•ปอดบวมหรือปอดอักเสบ
•ระบบหายใจล้มเหลว (Acute Respiratory Distress Syndrome)
H7N9
•นกตามแหล่งต่างๆทั่วโลก
•ติดต่อมายังมนุษย์เฉพาะในกลุ่มผู้ที่สัมผัสนกที่ป่วยเท่านั้นคนเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อย
•ปี 2556 มี H7N9 สายพันธุ์ใหม่ทำให้เจ็บป่วยรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต
อาการและอาการแสดงในคน
ผู้ติดเชื้อส่วนมากจะมีการเจ็บป่วยวิกฤต
•มีไข้ไอหายใจไม่อิ่มและเกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจจนทําให้เกิดปอดอักเสบอย่างรุนแรง
• cytokinestorm, blood poisoning
5.Covid-19
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ไอแห้ง เจ็บคอ น้ำมูกไหล คัดจมูก หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก เมื่อยเนื้อเมื่อยตัว ปวดศีรษะอ่อนเพลีย ท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียน บางรายอยู่ในสภาวะที่รุนแรงในผู้สูงอายุหรือมีโรคประจำตัวมีความเสี่ยงสูง
การป้องกัน> ขณะนี้ไม่มีวัคซีนป้องกันโดยการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลใส่ mask ล้างมือหลีกเลี่ยงการสัมผัสดวงตาปากและจมูกออกไปนอกบ้านให้น้อยลง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล
6.1 การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง: HAP คือการติดเชื้อปอดอักเสบที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล
วินิจฉัยจาก chest X-ray อาการแสดงอย่างน้อย 2 ข้อคือมีไข้> 38 องศาเซลเซียสไอมีเสมหะขึ้นใหม่หรือเพิ่มปริมาณขึ้นปริมาณเม็ดเลือดขาว CBC> 12,000 cetVmm ^ 3 หรือ <4,000 cetVmm13
6.2 การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ คือ การอักเสบของทางเดินปัสสาวะการติดเชื้อผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมี 2 ประเภท คือ
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง คือ การติดเชื้อบริเวณกระเพาะปัสสาวะ
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนบน คือ ติดเชื้อของท่อไตกรวยไตและเนื้อไต
6.3 การติดเชื้อแผลผ่าตัด: SSI คือ การติดเชื้อที่แผลผ่าตัดหรือบริเวณที่ทำหัตถการที่ก่อให้เกิดการตัดผ่านผิวหนัง
6.4 การติดเชื้อในกระแสเลือด BSI คือ การติดเชื้อแบคทีเรียเชื้อราในกระแสเลือดหลังอยู่ในโรงพยาบาลไม่ต่ำกว่า 48 ชั่วโมง
นางสาวกัลยา ทาไธสง 613060106-5 sec.3