Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล, นางสาวรุ่งราวรรณ…
การบริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
“อาชีวอนามัยและความปลอดภัย” (occupational health and safety)
หมายถึง การดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพรวมถึงการป้องกันอันตรายและส่งเสริมสุขภาพอนามัย เพื่อคงไว้ซึ่งสภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ ตลอดจนสถานะความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ประกอบอาชีพทั้งมวล
เป้าประสงค์ของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมในการทางาน
ป้องกันโรคและควบคุมการบาดเจ็บอันเนื่องจากการประกอบอาชีพ
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพให้มีความสมบูณทั้งทางร่างกายจิตใจ และสังคม
เพื่อมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล
ความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
ช่วยป้องกันและควบคุมให้เกิดสภาพความปลอดภัยในการทางาน เพื่อให้พนักงาน ปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและมีสุขภาวะทางด้านกายและใจดี
ช่วยลดความสูญเสียอันเนื่องมาจากการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บป่วย
ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสภาพ
ช่วยลดผลกระทบทางสังคมที่อาจตามมาหลังการประสบอันตรายจากการงาน
่ ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานให้ได้ร้บการปฏิบัติที่เป็นธรรมตามกฏหมายไม่ขัดต่อหลักมนุษยธรรม
ช่วยเสริมภาพลักษณ์ให้ก้บองค์กรและผลิตภัณฑ์
ส่งผลต่อการเพิ่มผลผลิต เช่น สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการทำงานของพนักงาน
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การส่งเสริม (Promotion) และธำรงไว้ (Maintenance) สุขภาพร่างกายและจิตใจ
การป้องกัน (Prevention)
การปกป้องคุ้มครอง (Protection) ผู้ประกอบอาชีพ
การจัด (Placing) ให้ผู้ประกอบอาชีพทำงานในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
การจัดหรือปรับปรุงสภาพงานให้เหมาะสมกับลักษณะของงานและผู้ปฏิบัติงาน (Adaptation of Work)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ระหว่างประเทศ
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO)
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ( International Labour Organization : ILO)
ประเทศไทย
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงอุตสาหกรรม
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
สำนักงานประกันสุขภาพ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงมหาดไทย
การบริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
กรรมวิธีเกี่ยวกับการวางแผน การจัดองค์กร การจัดการบุคคล การเป็นผู้นำ การควบคุม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่กำหนดขึ้น โดยความร่วมมือของพนักงานและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ข้อควรพิจารณาในการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การบาดเจ็บ หรืออุบัติเหตุเนื่องจากการประกอบอาชีพ
โรคจากการประกอบอาชีพ
เหตุฉุกเฉิน เช่น เพลิงไหม้ การระเบิด สารเคมีรั่วไหล เป็นต้น
ปัจจัยในการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ความปลอดภัยเกี่ยวกัยสถานที่โครงสร้างอาคาร
ความปลอดภัยเกี่ยวกับต้นกำเนิดพลังงานต่าง ๆ
ความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
ความปลอดภัยเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ใช้
ความปลอดภัยเกี่ยวกับลูกจ้าง
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน
การจัดสวัสดิการแก่ลูกจ้าง
การกำหนดแผนป้องกันเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ เช่นการระเบิด ไฟไหม้ สารเคมีรั่วไหล
มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
- มาตรฐาน HA ฉบับที่ 4
การวัดผลการดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อุบัติเหตุและการเจ็บป่วยน้อยที่สุด (Zero accident)
ขาดงานลาป่วยน้อยที่สุด
ถ้ามีภาวะฉุกเฉินต้องระงับเหตุได้รวดเร็วที่สุด
สูญเสียทรัพย์สินและบุคลากรน้อยที่สุด
ประเมินคุณภาพชีวิตการทางานของบุคลากร
ความผูกพันในองค์กร
ปี 2021 สรพ. ได้กำหนดเพิ่มเป็น 3 P Goal
Patient
Personal
Pubic
ทำไมต้องมี Process of work ใน Safety goals
เป็นกฎหมาย (พรบ.)
เป็นหน้าที่ของทุกคน
พรบ.และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานพ.ศ. 2554
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553
เครื่องจักร ปั้นจั่นและหม้อน้ำ พ.ศ. 2552
เกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551
ความร้อนแสงสว่างและเสียง พ.ศ.2560
รังสีชนิดก่อไอออน พ.ศ. 2547
บัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556
พรบ. และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ด้านอาชีวอนามัย
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้างและส่งผลการตรวจแก่ พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547
กำหนดแบบสมุดสุขภาพประจำตัวของลูกจ้างที่ทำงาน เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและแบบแจ้งผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างที่พบการผิดปกติหรือการเจ็บป่วย การ ให้การ รักษาพยาบาลและการป้องกันแก้ไข พ.ศ. 2551
กำหนดสารเคมีอันตราย ที่ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพของ ลูกจ้าง พ.ศ. 2552
หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำมาตรการอนุรักษ์ การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ.2561
นางสาวรุ่งราวรรณ อุ่นผ่อง 6205101009