Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ - Coggle Diagram
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่5
จัดพิมพ์หนังสือพงศาวดาร วรรณคดี
จัดตั้งสโมสรโบราณคดี
จัดแสดงสมบัติของชาติที่มาถวาย
กำหนดแนวทางใหม่การปฏิสังขรณ์
จัดตั้งหอคอยรองคอเดีย
รัชกาลที่6
กิจการโบราณคดีสโมสรได้รับความสนใจ
โปรดเกล้าให้กรรมการหอสมุดสำหรับพระนครและราชบัณฑิตยสภา
รัชกาลที่1
กฏหมายตราสามดวง
มีการตั้งข้อกำหนดที่ทำให้เกิดการอนุรักษ์การปกป้อง การทำลายองค์กร ศาสนา และรักษาโบราณวัตถุและโบราณสถาน
มีบทลงโทษในลักษณะค่อนข้างรุนแรง
แนวทางการอนุรักษ์
ยึดตามแบบที่มีให้ในสมัยอยุธยา
รัชกาลที่4
โปรดเกล้าให้ประกาศเขตรังวัด ผู้ร้ายขุดวัด
กำหนดให้ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่วัดดูแลบริเวณโดยรอบ
หากวัตถุถูกทำลาย แต่ชาวบ้านมิได้แจ้งให้ทางการจะมีโทษ
ในสมัยนั้นมีผู้ลักลอบแสวงหาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามโบราณสถานต่างๆมาก
รัชกาลที่8
ต่อมาได้แก้ไขพรบ.ทั้งสองฉบับ และประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ
จัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
พ.ศ.2483 ประกาศใช้พระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ
พ.ศ.2478 ประกาศหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับโบราณวัตถุสถานและพิพิธภัณฑ์
พ.ศ.2486 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ
รัชกาลที่9
พศ.2522 ได้มีการตราพระราชบัญญัติสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติพศ.2522
พศ.2524 มีการประกาศนโยบาย วัฒนธรรม
พศ.2512 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมาย พศ.2512
พศ.2545 ได้มีการจัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรม
พศ.2501 กระทรวงวัฒนธรรม ถูกลดฐานะลงเป็นเพียงกองวัฒนธรรมสังกัดกรมการศาสนา
พศ.2492-2500 จัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรมดูแลกรมการศาสนากรมการวัฒนธรรมและกรมการศิลปากร สภาวัฒนธรรมและสภาวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
รัชกาลที่7
ออกพระราชบัญญัติส่าด้วยการส่งโบราณวัตถุต้องได้รับการอนุญาตจากราชบัณฑิตยสภา
ประกาศใช้พระราชบัญญัติพิพิธภัณฑ์ พ.ศ.2469