Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤฒพลังและการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, นางสาวจันทร์สุดา เลพล เลขที่ 12…
พฤฒพลังและการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
สังคมผู้สูงอายุ แบ่งได้ 3 ระดับ
Aged Society สังคมที่มีผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์มีสัดส่วนอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 20% หรือ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 14%
Aging Society ยุคแห่งการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย มีสัดส่วนอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 10 % ของประชากรรวมทั้งประเทศ หรืออายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 7%
Super-age Society คือ สังคมที่อุดมไปด้วยผู้สูงอายุ คือ มีสัดส่วนอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 20%
ความหมาย
การสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ (Healthy Ageing)
การเป็นผู้สูงอายุที่ปราศจากโรค และรวมถึงการมีความสามารถในการใช้ร่างกาย สรีรวิทยา จิตใจ และสังคมซึ่งได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการชราที่เกิดขึ้น ให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม
การสูงวัยที่ประสบความสำเร็จ (Successful Ageing)
การหลีกเลี่ยงจากโรค และความพิการ
คงสภาพความสามารถของร่างกาย และสติปัญญาให้ยาวนาน
การสูงอายุโดยไม่มีการสูญเสียของหน้าที่การทำงานทางสรีระ หรือมีแต่ก็เพียงเล็กน้อย Rowe และ Khan (1999)
ทำงานอย่างต่อเนื่อง และกระตือรือร้น
การสูงวัยที่ยังประโยชน์ (Productive Ageing)
“การสูงวัยที่ยังประโยชน์ สะท้อนออกมาในรูปแบบของกิจกรรมที่แสดงถึงคุณค่า งานที่ก่อให้เกิดรายได้ งานที่เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม งานอาสาสมัคร งานในครอบครัว”
แนวคิด
Frail Aging สุภาพไม่ดีมีแนวจะป่วยช่วยตัวเองไม่ได้ มีแนวโน้มที่เกิดโรค- พิการได้ง่าย
Active aging สุขภาพดี มีส่วนร่วมการเงินพอประมาณ เน้นพึ่งตนเอง (ดี เป็นส่วนๆ) มีโรค-พิการ หรือไม่มีก็ได้
Successful Aging ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ดี มีสุขภาพกายจิตดี พึ่งพาตนเองได้ อาจเป็นที่พึ่งคนอื่นคนอื่นด้วย (ดีทุกอย่าง ดีไปหมด อะไรก็ดี ดีดีดี) มีโรคหรือไม่มีก็ได้
เป็นแนวคิดในเชิงเศรษฐศาสตร์ และเชิงสังคมวิทยา แนวคิดนี้ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนอง และแก้ไขทัศนคติเชิงลบต่างๆ ให้จุดเด่นกับการนำความสามารถของผู้สูงอายุไปใช้ประโยชน์
การเตรียมรับวาระสุดท้าย
ตายในบรรยากาศที่อบอุ่น คือผู้ป่วยระยะสุดท้ายมีปฏิสัมพันธ์กับคนที่ตนรัก
ตาย ด้วยจิตที่เป็นอิสระจากสิ่งยึดมั่นทั้งปวง ผ่อนคลาย สงบ และปล่อยวาง ไม่ยึดติดในตัวกูของกู นับได้ว่าเป็นการตายดี
ตายตาหลับโดยไม่มีความหวาดกลัวหรือห่วงกังวล ในขณะที่ใกล้สิ้นลมอาจเกิดนิมิตคือ ภาพที่ปรากฏในใจอย่างใดอย่างหนึ่ง
ข้อของการปฏิเสธการรักษาการรักษาที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต
การรักษาผู้ป่วยระยะสุดท้ายหลายกรณีไม่เกิดประโยชน์แก่ผู้ป่วยได้รับความทุกข์ทรมานจากการใช้เครื่องกู้ชีพต่างๆ เช่น การเจาะคอใส่ท่อช่วยหายใจ การปั๊มหัวใจ หรือการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยยืดการตายออกตาย แต่ไม่ทำให้คุณภาพชีวิตผู้ป่วยดีขึ้น
ผู้ป่วยไม่ถูกทอดทิ้ง ยังคงได้รับการดูแลจากแพทย์ พยาบาล เพื่อให้ได้รับความสบาย จนเสียชีวิตลงอย่างสงบตามธรรมชาติ
ตายตามธรรมชาติ โดยไม่ต้องฝืน ความตายเกิดขึ้นกับเราอยู่ตลอดเวลา
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
ภาวะพลัง (Active Ageing)
กระบวนการ (processs) ที่เหมาะสมที่นำไปสู่การมีสุขภาวะ (health) การมีส่วนร่วม (Participation) และหลักประกัน (security) ในชีวิต ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างให้บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดี (to enhance quality of life) เมื่อสูงวัย
การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และกการสนับสนุนทางสังคม)
ผู้สูงอายุ และครอบครัวสามารถเข้าถึงบริการที่จัดไว้
ลดความเสี่ยง ในการไม่ดูแลรักษาสุขภาพแบบใดๆของประชาชน
เน้นระบบ การดูแลต่อเนื่อง ทุกมิติของการดูแลสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรคและการคัดกรอง
การดูแลรักษาโรคและความเจ็บป่วย
การฟื้นฟูสภาพ
การดูแลระยะสุดท้าย
จัดการสนับสนุนทางสังคม (social support) ให้สอดประสานเพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ
หลักการ 1
ให้มีการบริการแบบบูรณาการ เชิงรุกโดยเน้นครอบครัว และชุมชนเป็นฐานสำหรับผู้สูงอายุทุกคน
โดยบุคลากรทุกระดับการฝึกอบรมเฉพาะทางด้านผู้าสูงอายุ (เกณฑ์มาตารฐานขั้นต่ำ)
ปรับสภาพแวดล้อม ที่พักอาศัยและจัดให้มีบริการสาธารณะที่เหมาะสม
พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชน
สร้างทัศนคติเชิงบวกต่อผู้สูงอายุ
3.. พัฒนาศักยภาพ ชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ
สุขภาพ
ป้องกันโรคเรื้อรัง (NCD) ลดความเสี่ยงเหล้า บุหรี่ เพิ่มกิจกรรมทางกาย| ดูแลโภชนาการ จากสถิติพบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับโรคNCDs 2 อันดับแรก คือโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
สสส. สนับสนุนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมผู้สูงอายุ และสนับสนุนการดำเนินงานที่สอดคล้องกันแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 และข้อเสนอปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัยของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.)โดยสนับสนุนการดำเนินงานของภาคีเครือข่าย และหน่วยงานต่างครอบคลุม 3 มิติ
เศรษฐกิจ
ส่งเสริมการออมเพื่อเมื่อยามสูงอายุ
ส่งเสริมการประกอบอาชีพของผู้สูงอายุ
เตรียมความพร้อมรับมือสังคมสูงวัย
นางสาวจันทร์สุดา เลพล เลขที่ 12 รหัสนักศึกษา 63115301012