Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจหยุดเต้น (Cardiac Arrest) - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจหยุดเต้น (Cardiac Arrest)
ความหมาย
ภาวะที่หัวใจทำงานผิดปกติ จนไม่มีการบีบตัวหรือหยุดเต้นทันที โดยไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า เมื่อเกิภาวะนี้ จะไม่มีการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้การทำงานของอวัยวะผิดปกติ ซึ่งอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือการทำงานของสมอง เมื่อไม่มีเลือดมาเลี้ยงก็ทำให้หมดสติ การช่วยเหลือจึงจำเป็นต้องทำอย่างทันท่วงที
ห่วงโซ่การรอดชีวิต (Chain of survival)
การประเมินผู้ป่วยและเรียกขอความช่วยเหลืออย่างทันท่วงที(Early recognition and activation
of emergency medical services)
การทำการ CPR ทันทีโดยเน้นกดหน้าอก (Immediate CPR with appropriate chest compression)
ภาวะแทรกซ้อนของการทำ CPR
วางมือผิดตำแหน่ง ทำให้ซี่โครงหัก , xiphoid หัก , กระดูกที่หักทิ่มโดนอวัยวะสำคัญ เช่น ตับ ม้าม เกิดการตกเลือดถึงตายได้
การวางมือผิดตำแหน่งทำให้มีเลือดคลั่งในปอด ผู้รับบริการได้รัลการรักษาโดยการทำ ICD และ C-line
การใส่สายระบายทรวงอก (chest tube insertion, tube thoracostomy หรือ intercostal drainage; ICD) คือการใส่สายเข้าไปยังช่องเยื่อหุ้มปอด (pleuzal caviy) เพื่อระบายลม น้ำ หนอง หรือเลือด รักษาพยาธิสภาพของช่องเยื่อหุ้มปอด ถือเป็นหัตถการพื้นฐานที่สำคัญและจำเป็นสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติ เนื่องจากสามารถช่วยชีวิตผู้ปวยที่มีพยาธิสภาพในช่องเชื่อหุ้มปอดได้นอกจากนี้หัดถการดังกล่าว รวมถึงการดูแลระบบระบายช่องเยื่อหุ้มปอด หากปฏิบัติไม่ถูกวิธี อาจก่อให้เกิดอันตรายกับผู้ป่วยอย่างร้ายแรงได้ บทความนี้จะกล่าวถึงเทคนิคการใส่สายระบายทรวงอก ระบบระบายช่องเยื่อหุ้มปอด และเทคนิคการถอดสายระบายช่องอกอย่างปลอดภัย
Central line (C-line) ทำวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 เอาออกวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564
การใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง (CENTRAL LINE) หมายถึง การใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางซึ่งเป็นการแทงสายสวนผ่านหลอดเลือดดำส่วนกลาง โดยตำแหน่งที่ใช้บ่อยมี 3 ตำแหน่ง ได้แก่หลอดเลือดดำ Internal jugular หลอดเลือดดำSubclavian และหลอดเลือดคำ Femoral ชนิดของสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางที่ใช้เพื่อให้ยาและสารน้ำสารอาหาร ที่มีความเข้มข้นสูงมากกว่า 12.5 % และการดูดเลือดเพื่อส่งตรวจ อีกทั้งใช้ประ โยชน์ในการวัดและประเมินความดันภายในหลอดเลือด (Central venous pressure (CVP) อีกด้วยทั่วไปมีได้ทั้งชนิดที่มี 1 ช่องจนถึง 3 ช่อง
Intercostal drainage (ICD) ทำวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 เอาออกวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564
การกดด้วยอัตราเร็วเกินไป เบาไป ถอนแรงหลังกดไม่หมด ทำให้ปริมาณเลือดไปถึงอวัยวะต่างๆ ที่สำคัญได้น้อย ทำให้ขาดออกซิเจน
การกดแรงและเร็วมากเกินไป ทำให้กระดูกหน้าอกกระดอนขึ้น ลงอย่างรวดเร็ว หัวใจช้ำเลือดหรือกระดูกหักได้
การกดหน้าอกลึกเกินไป ทำให้หัวใจชอกช้ำได้
การเปิดทางเดินหายใจไม่เต็มที่ เป่าลมมากเกินไป ทำให้ลมเข้ากระเพาะอาหาร เกิดท้องอืด อาเจียน ลมเข้าปอดไม่สะดวก ปอดขยายตัวไม่เต็มที่
ถ้ามีอาการอาเจียนเกิดขึ้นก่อน หรือ ระหว่างการทำ CPR ต้องล้วงเอาเศษอาหารออกก่อน มิฉะนั้นจะเป็นสาเหตุของ การอุดตันของทางเดินหายใจ (airway obstruction) การช่วยหายใจไม่ได้ผล เกิดการขาดออกซิเจน
ถ้ามีอาการท้องอืดขึ้น ระหว่างการทำ CPR ให้จัดท่าเปิดทางเดินหายใจใหม่ และช่วยการหายใจด้วยปริมาณลมที่ไม่มากเกินไป
ผู้รับบริการมีการท้องอืดตั้งแต่วันที่ทำการ CPR คือวันที่ 11/02/64 จนถึงวันที่ 24 /02 /64
การช็อกไฟฟ้า (defibrillation) ทันที ในรายที่มีข้อบ่งชี้
การช่วยชีวิตขั้นสูง (Advanced cardiovascular life support)
การดูแลหลังการกู้ชีวิต (Post-cardiac arrest care)
อาการและอาการแสดงของภาวะหยุดหายใจและ/หรือภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตรวจสอบอาการและอาการแสคงที่บ่งชี้ภาวะหยุดหายใจและ / หรือภาวะหัวใจหยุดเต้น
หมดสติ (Loss of Consciousness) หลังจากหัวใจหยุดเต้น 3-6 วินาที
คล้ำชีพจรที่เส้นเลือดแคงคาโรติด (Carotid Artery) ไม่ได้
ไม่มีการหายใจจากการฟัง และดูไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก (Chest MoVcment)ซึ่งอาขเกิดจากกาวะการไหลเวียนของเลือดหยุดชะงัก (Circulatory Standstil)
ซีดเขียว ภายใน 1 นาที
รูม่านตาไม่มีปฏิกิริยาค่อแสง ภายหลังหัวใจหยุดเต้นนาน 45 วินาที และขยายโตเต็มที่ (Fixed Dilate) ภายใน 1 นาที
อาจมีอาการชักเกร็ง ร่วมกับภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเวนทริเคิลเต้นเร็ว หรือเวนทริเคิลเต้นพลิ้ว