Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลและการบันทึกทางการพยาบาลสำหรับผู้บริจาคอวัยวะ เนื้อเยื่อ…
การพยาบาลและการบันทึกทางการพยาบาลสำหรับผู้บริจาคอวัยวะ เนื้อเยื่อ ที่มีชีวิต
ก่อนและหลังการบริจาคไต
การพยาบาลก่อนปลูกถ่ายไต
การประสานงานและการเตรียมผู้บริจาคไตที่มีชีวิต
ผู้บริจาคไตที่มีชีวิต >Prescreening>ลงทะเบียนสิทธิ์> Lab CXR US ฯลฯ>ประสานส่งตรวจแพทย์>กำหนดวันผาาตัด>admit ผ่าตัด
หลักการประเมินผู้บริจาคไตที่มีชีวิต
การซักประวัติ
1.ประวัติโรคมะเร็งของผู้บริจาคและครอบครัว
2.ประวัติการใช้สารเสพติดทุกชนิด
3.ความเสี่ยงในการติดเชื้อ TB,HIV,Hepatitis
4.ประวัติโรึ peripheral Disease (PVD) CAD CVD HT
5.ประวัติโรคไตและ ประวัติโรคไตในครอบครัว
ประเมิน BMI
ความเสี่ยงโรคมะเร็งและโรคหัวใจและหลอดเลือด
มะเร็ง
1.PAP ในหญิงอายุมากกกว่า 35 ปี
หญิงอายุมากกว่า 50 ปีให้ทำ mammogram
PSA>50 ปี ทำ ultrasound abdomen,colonoscopy ถ้ามีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่
การประเมินการติดเชื้อ Infectious screening HBsAg,Anti HBs,AntiHCV,HIV,NAT,CMV IgG,VDRL
การประเมินหัวใจและระบบทางเดินหายใจ
1.CXR
2.EKG
3.CVD
4.Echo
Labratory
Urinalysis
1.Dipstick for protien,blood and glucose,microalbuminuria
2.Microscopy,Culture and sensitivity
3.24 hr.measurement of protien excretion rate
4.GFR all 3 medthod
5.24 hr. urinary cr. ckearance
bloodtest
1.ABO group
2.CBC
3.BUN Cr. Elyte
4.oral glucose tolerance test
LFT,FBS
ผู้ที่มีนิ่ว (หากยืนยันและยอมรับความเสี่ยงให้เลือกบริจาคข้างที่มีนิ่ว)
1.ต้องยอมรับความเสี่ยงเกิดนิ่วซ้ำ
2.ควรมีอายุมากกว่า 40 ปี
3.ผู้ที่เคยมีนิ่งเพียงครั้งเดียว มีเพีง 1 ก้อน ไม่เกิน 1.5 แท โดยสลายและผ่าตัดออกแล้ว หรือถ้ามีนิ่วแต่ยังไม่มีอาการสามารถผ่าตัดได้โดยการทำ Uteroscopy แต่ต้องไม่มีภาวะดังนี้
3.1 Hypercalciuria,hyperuricemia หรือ metabolic acidisis
3.2 ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะบ่อยๆ
3.3 คนในครอบครัวเป็นนิ่ว ชนิด Cystine หรือ oxalate
3.4 Nepphrocalcinosis โดยดจาก CT scan
3.AUTOSOMAL DOMINANT Disase เป็นโรคความผิดปกติที่มีความเสียหายที่หลอดเลือดฝอยในไต
1.ควรมีอายุมากกว่า 30 ปี
2.ตรวจไม่พบ cys โดย US หรือ MRI จึงจะบริจาคได้
คุณสมบัติและเกณฑ์ผู้บริจาคที่มีชีวิต
มีอายุมากกว่า 18 ปี และไม่ควนเกิน 65 ปี
ไม่มีภาวะ HT ที่ควบคุมยา หรือมี end-organ damage
ไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด
ไม่เป้นโรคไตเรื้อรัง
มีค่าโปรตีนในปัสสาวะไม่เกิน 300 mg/24hr
eGFR >80 ml/min/1.73m2
BMI ไม่เกิน 35
ไม่มีโรคร้ายแรงทาง med COPD,Ischemic heart disease ,Malignancy Infection
ข้อบังคับ
ญาติทางสาเลือดที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ HLA DNA
สมรส จดทะเบียน หรืออยู่กินโดยเปิดเผยมากกว่า 3 ปี หากมีบุตรไม่ต้องรอ 3 ปี
ไม่เป็นการซื้อขายหรือรับจ้่างวาน
การดูแลระหว่างผ่าตัด
pre-op care
IV fluid 5% D/N/2 IV 80 cc/hr
NPO
SSE
Blood component
Sedative
pre-op teaching
IV 1-2 days
Foley's catheter 2 days
คำแนะนำการปฏิบัติตนหลังผ่าตัด อาการและอาการแสดงที่ต้องมาพบแพทย์ตามนัด
การพยาบาลหลังปลูกถ่ายไต
การดูแลระยะยาวหลังบริจาคไต
3 เดือน
6 เดือน
1 เดือน
ปีบะ 1 ครั้ง
Lab ที่ต้องติดตาม
Cr.,uric acid.Cholesterol,LDL.Triglyceride.Glucose,Urine exam,Urein cr. (spot urine),urine protien
เก็บข้อมูลเชิงสถิติเพื่อหาแนวทางพัมนาและแก้ไขปัญหา
safety of living donor
Reoperation
Major complication
Renal Mortality
Lomg tern follow up
cause of dead
Liver cancer
Leukemia
Lung cancer
Caraccident
Post-op day 1 discharge
Complicationcare and monitoring
-bleeding
-Infection
Electrolye imbalance
-pain
-Fluid management
-Line tube care
-Nutrition