Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
บทที่ 8
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
ขบวนการแลกเปลี่ยน gas เกิดที่ถุงลมจึงต้องส่งออกซิเจนไปให้ถึงให้ได้อย่างเพียงพอ
อัตราการหายใจของเด็กในแต่ละวัย
ต่ำกว่า 2 เดือนไม่เกิน 60 ครั้งต่อนาที
2-12 เดือนไม่เกิน 50 ครั้งต่อนาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้งต่อนาที
oxygensaturation มากกว่า 95-100 %
การหายใจมีปีกจมูกบาน(nasal flaring)
เป็นลักษณะของการหายใจลำบาก
มีการบานของปีกจมูกทั้งสองข้างเพื่อให้ออกซิเจนเข้าได้เพียงพอ
การดูแลเด็ก
หลอดลมอักเสบ(Bronchitis)
หลอดลมฝอยอักเสบ(ฺBronchiolitis)
ปอดบวม(Pneumonia)
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน(viral croup)
ติดเชื้อจากไวรัสและแบคทีเรีย
ไวรัส ได้แก่ parainfluenza viruses (type 1-3) influenza A และ B, respiratory syncytial virus (RSV),
เชื้อแบคทีเรียอาจเป็นสาเหตุของ croup ได้แตน้อยinfluenza A และ B, respiratory syncytial virus (RSV),
พยาธิสภาพที่พบในเด็ก คือ มีการอักเสบและบวมของกล่องเสียง หลอดคอ และหลอดลม
โดยเฉพาะที่ตำแหน่ง ใต้กล่องเสียง (Subglottic region )
ส่งผลทำให้เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน
อาการที่พบ
ผู้ป่วยจะไอเสียงก้อง (barking cough),
เสียงแหบ (hoarseness)
หายใจได้ยินเสียง stridor ส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรงและหายได้เอง
อาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มักจะไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไป
ส่วนใหญ่จะพ่น Adrenali
ต้องใส่ Endotracheal tube
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ การติดเชื้อ แบคที่เรีย ไวรัส เช่น Beta Hemolyticstreptococcus gr. A
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ
รายที่มีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอหอย หรือเพดานปาก
สาเหตุจะเกิดจาก Coxsackie Virusเรียกว่า Herpangina
คำแนะนำที่สำคัญคือ ให้กินยา Antibioticให้ครบ 10 วันเพื่อป้องกัน ไข้รูห์มติค และหัวใจรูห์มาติค หรือกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน AGN
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ท าให้เกิดอาการนอนกรน และ/หรือมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (obstructive sleep apnea)
ในรายที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล (carcinomaof tonsils)
เจ็บคอมากเวลากลืนหรือกลืนลำบาก อย่างเรื้อรังหรือเป็นๆหายๆ จนรบกวนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ต้องหยุดเรียบ่อยๆ
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดTonsillectomy
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง
เพื่อสะดวกต่อการระบายเสมหะ
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
เมื่อเด็กรู้ตัวดี จัดให้เด็กอยู่ในท่านั่ง 1-2 ชั่วโมงให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆรับประทานของเหลวในรายทีปวดแผลผ่าตัดให้ใช้กระเป๋าน้าแข็งวางรอบคอ ถ้าปวดมากให้ยาแก้ปวด
หลังผ่าตัด
ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถกลับบ้านได้หลังผ่าตัด 24-48 ชั่วโมง และไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถรับประทานน้ำและอาหาร ได
ผู้ป่วยจะมีแผลที่ผนังในคอทั้งสองข้าง
แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนที่ค่อนข้างเย็นเช่น ไอศกรีมข้นๆ
ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก หรือข้าวต้ม
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
การวินิจฉัย X-ray paranasal sinus
CT scan ได้ผลดีกว่าวิธีอื่น
การตรวจด้วยการส่องไฟผ่าน (Transilumination) จะพบว่าไซนัสที่มการอักเสบจะมี ลักษณะมัว
การดูแลรักษา ไซนัสอักเสบ sinusitis
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยา paracetamal เพื่อลดไข้ และบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ให้ยาแก้แพ้ เพราะจะทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
ยาแก้แพ้จะช่วยลดอาการจาม น้ำมูกไหล และเยื่อบุจมูกบวม
ให้ยาSteroid เพื่อลดอาการบวม ลดการคั่งของเลือดที่จมูก ทำให้รูเปิดของโพรงไซนัสสามารถระบายสารคัดหลั่งได้ดีขึ้น
ล้างจมูก
ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรคจากจมูกและไซนัสไปสู่ปอด
ช่วยลดจำนวนเชื้อโรค
การล้างจมูกก่อนใช้ยาพ่นจมูก จะท าให้ยาพ่นจมูกมีประสิทธิภาพดีขึ้น
น้ำที่ใช้ล้างคือน้ำเกลือความเข้มข้น 0.9% NSS เนื่องจากมีคุณสมบัติ
ช่วยลดความเหนียวของน้ ามูกและท าให้เชื้อโรคไม่เจริญเติบโต
หอบหืด Asthma
Asthma เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม (Chronicairway inflammation
Bronchial hyper-reactivityการมีความไวต่อสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดพยาธิสภาพ 3 อย่าง
ท าให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
ท าให้หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis) เยื่อบุภายในหลอดลมบวม
มีการสร้างเมือกเหนียวจ านวนมาก (Hypersecretion) ท าให้ช่องทาง
เดินอากาศในหลอดลมแคบลง ท าให้เกิดอาการหอบหืดขึ้น
เมื่อพยาธิสภาพที่ 3 อย่างเกิดขึ้น ผู้ป่วยจึงมีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
การดูแล
งให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม ได้รับออกซิเจน ให้พัก
เพื่อลด activity
ได้ยาลดอาการบวม เช่น Dexa ซึ่งเป็นยา Steroid
ในรายที่มีเสมหะ จะไม่ใช้วิธีการเคาะปอดในเด็กที่เป็น Asthma ที่กำลัง
หอบ เพราะจะท าให้หลอดลมเกิดการหดเกร็งมากขึ้น
อาการโรคหอบหืด Asthma
มักเริ่มต้นด้วยอาการ หวัด ไอ มีเสมหะ ถ้าไอมากขึ้นเรื่อยๆ
บางครั้งการเกร็งตัวของหลอดลมเกิดขึ้นไม่มากนัก ผู้ป่วยจะมีอาการไม่มาก แต่ก็เป็นอยู่เรื่อยๆ
ผู้ป่วยเด็กบางคนจะมีอาการไออย่างเดียว และมักจะมีอาการอาเจียนร่วม
ด้วย อาการไอจะดีขึ้น
การรักษาหอบหืด
การลดอาการของเด็ก
ให้เด็กมีกิจกรรมได้ตามปกติ
พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้นและการใช้ยาอย่างถูกต้อง
ยาขยายหลอดลม ( Relievers ) มีทั้งชนิดพ่น และชนิด
รับประทาน
ยาชนิดพ่นจะให้ผลได้เร็ว ช่วยให้หายใจโล่งขึ้น
ยาลดการบวม และการอักเสบของหลอดลม (Steroid )
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงได้แก่
ควันบุหรี่
ตัวไรฝุ่น
ไม่นำสัตว์เลี้ยงเข้าห้องนอน
การออกกำลังกาย
อากาศเย็น
การใช้ baby haler
1.หลังล้างทำความสะอาด ต้องสอนผู้ป่วย
2.ให้พ่นยาทิ้ง 1 ครั้ง เพื่อให้ยาจับผนัง
5.ของ Spacer ก่อน
3.เพื่อให้การพ่นครั้งต่อๆไป
4.ยาก็จะเข้าผู้ป่วย
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis)
หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
คือ
เป็นปัญหาติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที่พบบ่อยในเด็กเล็ก
เกิดขึ้นจากเนื่องจากมีการอักเสบและอุดกลั้นของหลอดลม
เด็กที่ไม่กินนมแม่พบข่อนค้างสูง
พบในเด็กอายุไม่เกิน 6 เดือน
อาการ
เริ่มจากไข้หวัดเพียงเล็กน้อย น้ำมูกใส เบื่ออาหาร
รักษาตามอาการ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลปัญหาการติดเชื้อ
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุสำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ ไข้ ไอ หอบ ดูดน้ า ดูดนมน้อยลง ซึม
เกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน Pneumonia
เด็กแรกเกิด อัตราการหายใจที่มากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
เด็กอายุ 2 เดือนต่อ 1 ปี อัตราการหายใจที่มากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
เด็กอายุ 1-5ปีอัตรการหายใจที่มากกว่า 40 ครั้งต่อนาที
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ าอย่างเพียงพอ เป็นเรื่องส าคัญเพื่อให้เสมหะอ่อนตัวขับออกได้ง่าย ช่วยลดไข
ดูแลเรื่องไข้ Clear airway suction เพื่อให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ยาขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาล
ปัญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจเป็นปัญหาส าคัญจ าเป็นต้องดูแลแก้ไข
เด็กโตต้องสอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ ามากๆ
ในรายที่เสมหะอยู่ลึกให้ Postural drainage โดยการเคาะปอด และ
Suction เพื่อป้องกันภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
การท า Postural drainage จะช่วยท าให้เสมหะที่อยู่ส่วนปลายถูกกระตุ้น
ให้เลื่อนขึ้นมาถึงปลายสายดูดเสมหะ
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง หรือนอนทับข้างที่มีพยาธิสภาพเพื่อให้ปอดข้าง
ที่ดีขยายตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา