Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก - Coggle Diagram
การดูแลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
viral croup เป็นโรคที่เกิดจาก การติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย
ไวรัส ได้แก่ parainfluenza viruses (type 1-3)พบร้อยละ75ของผู้ป่วย
เชื้อแบคทีเรียอาจเป็นสาเหตุของ croup ได้แต่พบน้อย
Mycoplasma pneumoniae ซึ่งมักพบในเด็กโตและอาการไม่รุนแรง
พยาธิสภาพที่พบในเด็ก
กล่องเสียง หลอดคอและหลอดลมอักเสบและบวม
โดยเฉพาะตำแหน่งใต้กล่องเสียง ทำให้เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน
อาการที่พบ ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก pt.ไอเสียงก้อง มีเสียงแหบ หายใจได้ยินเสียงstridor.
อาการเกิดขึ้นเร็วไม่ตอบสนองต่อยาพ่น
ส่วนใหญ่จะพ่น Adrenaline
ต้องใส่ Endotracheal tube
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ การติดเชื้อ แบคที่เรีย ไวรัส
Beta Hemolytic
streptococcus gr. A
อาการ ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ
รายที่มีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอ
หอย สาเหตุจากCoxsackie Virus
คำแนะนำที่สำคัญคือ ให้กินยา Antibioticให้ครบ10วัน
เพื่อป้องกัน ไข้รูห์มาติค และหัวใจรูห์มาติคหรือANG
การผ่าตัดต่อมทอนซิล (tonsillectomy)
ทำเมื่อมีข้อบ่งชี้ในการติดเชื้อเรื้อรัง เป็นๆหายๆ
มีไข้, เจ็บคอ, เจ็บคอมากจนรบกวนชีวิตคนไข้
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดอาการนอนกรน/หยุดหายใจขณะนอนหลับ
ในรายที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล
การดูแลหลังการผ่าตัด
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อสะดวกต่อการระบายเสมหะ
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
เมื่อเด็กรู้ตัวดี จัดให้เด็กอยู่ในท่านั่ง 1-2 ชั่วโมง ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆ
แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนที่ค่อนข้างเย็น
หลังการผ่าตัด 1-2 วันแรกควรนอนศีรษะสูง โดยใช้หมอนหนุน
ควรทานอาหารรสอ่อนไม่จัดหรือเผ็ดเกินไป
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
ติดเชื้อจะทำให้เกิดการบวมของเยื้อบุในโพรงอากาศ
ทำให้เกิดภาวะอุดตันช่องระบายเกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
ทำให้เชื้อแบคทีเรียที่บริเวณ nasopharynxเข้าสู่โพรงจมูกง่าย
ติดเชื้อทำให้การทำงานของ cilia ผิดปกติสารคัดหลั่งมาก มีความหนืด
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
อาการ มีไข้สูงมากกว่า 39 ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว มีน้ำมูกไหลเป็นนานกว่า10วัน
ลมหายใจมีกลิ่นเหม็นปวดบริเวณหน้าผาก และหัวคิ้วมาก
อาการ Acute จะรุนแรงกว่า Chronic
การวินิจฉัย X-ray paranasal sinus
CT scan ได้ผลดีกว่าวิธีอื่น
ตรวจด้วยการส่องไฟผ่าน (Transilumination)
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยา paracetamal เพื่อลดไข้ และบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ไม่แนะนำให้ใช้ยาแก้แพ้ในผู้ป่วยที่เป็นไซนัสอักเสบ
แบบเฉียบพลัน เพราะจะทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
ให้ยาSteroid เพื่อลดอาการบวม ลดการคั่งของเลือดที่จมูก
การล้างจมูก
ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรคจากจมูกและไซนัสไปสู่ปอด
ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นหายใจโล่งขึ้น บรรเทาอาการระคายเคืองในจมูก
ล้างจมูกวันละ 2 ครั้ง ตามแผนการรักษาของแพทย์
ใช้น้ำเกลือความเข้มข้น 0.9% NSS
หอบหืด Asthma
เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
มีความไวต่อสิ่งกระตุ้น ทำให้เกิดพยาธิสภาพ 3 อย่าง
หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis) เยื่อบุภายในหลอดลมบวม
หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก (Hypersecretion)
การดูแล
ให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม ได้รับออกซิเจน
ให้ยาลดอาการบวม เช่น Dexa ซึ่งเป็นยา Steroid
รายที่มีเสมหะ จะไม่ใช้วิธีการเคาะปอดในเด็กที่เป็น Asthma
เพราะจะทำให้หลอดลมเกิดการหดเกร็งมากขึ้น
อาการโรคหอบหืด
หวัด ไอ มีเสมหะ ถ้าไอมากขึ้นเรื่อยๆ ก็มักจะมีเสียงWheezing ในช่วงหายใจออก
มักจะมีอาการอาเจียนร่วมาการไอจะดีขึ้น หลังจากที่เด็กได้อาเจียน
การรักษาหอบหืด
ยาขยายหลอดลม ( Relievers )
ยาชนิดพ่นจะให้ผลได้เร็ว ช่วยให้หายใจโล่งขึ้น
บางรายอาจได้รับยาพ่นกลุ่ม Corticosteroids
ดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้งเพื่อป้องกันเชื้อราในปาก
ยาลดการบวม และการอักเสบของหลอดลม (Steroid )
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงได้แก่
ไม่ควรมีตุ๊กตามีขน สัตว์เลี้ยงในห้องนอน
ตัวไรฝุ่น
ควันบุหรี่
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis)หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
เป็นปัญหาติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที่พบบ่อยในเด็กเล็ก
เกิดจากการอักเสบและอุดกั้นของหลอดลม
เชื้อราที่เป็นสาเหตุ
Respiratory syncytial virus : RSV
พบสูงในเด็กที่ไม่ทานนมแม่ พบในเด็กเล็กมากกว่าเด็กโต อายุ6เดือนเป็นช่วงอายุที่พบบ่อย
อาการไข้หวัดเล็กน้อย มีน้ำมูกใส จามเบื่ออาหาร หายใจเร็ว หอบ หายใจปีกจมูกบาน ดูดนมได้น้อยหรือไม่ดูดเลย
การรักษา ตามอาการ ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาต้านการอักเสบ (Corticosteroid ) ยาขยายหลอดลม
การดูแล
ให้เด็กได้รับออกซิเจนเพียงพอ ได้รับน้ำ ดูแลไข้
ดูแลการติดเชื้อ เสริมสร้างภูมิต้านทานให้อาหารที่มีประโยชน์
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ ไข้ ไอ หอบ ดูดน้ำดูดนมน้อยลง ซึม
เกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน Pneumonia
เด็กอายุ2เดือน-1ปีอัตราการหายใจมากกว่า5ครั้ง/นาที
เด็กอายุ1-5ปีอัตราการหายใจมากกว่า40ครั้ง/นาที
เด็กแรกเกิด อัตราการหายใจมากกว่า60ครั้งต่อนาที
การดูแลรักษา
ให้รับสารน้ำเพียงพอ
ดูแลเรื่องไข้Clear airway suctionเพื่อให้แลกเปลี่ยนแก๊สสะดวก
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ยาขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาล
เด็กโตต้องสอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง หรือนอนทับข้างที่มีพยาธิสภาพเพื่อปอดข้างที่ดีขยายตัวได้มีประสิทธิภาพ
ดูแลให้รับออกซิเจนเพียงพอตามแผนการรักษา