Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กทีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ ที่พบบ่อยในเด็ก, นางสาวอารยา…
การดูแลเด็กทีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ที่พบบ่อยในเด็ก
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
สาเหตุ
ติดเชื้อ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
พยาธิสภาพ
เกิดการบวมของเยื้อบุในโพรงอากาศ)
เกิดภาวะอุดตันช่องระบายของโพรงอากาศ ข้างจมูก( osteomeatal complex)
เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
ความดันโพรงอากาศเป็นลบ)
เมื่อมีอาการจาม สูดหรือสั่งน้ำมูก จะทำให้เชื้อแบคทีเรียที่บริเวณ อากาศเข้าจมูกได้ง่าย
ระยะของโรค
Acute sinusitis ไม่เกิน12สัปดาห์
Chronic sinusitis เกิน 12 สัปดาห์
อาการ
มีไข้ สูงมากกว่า 39 ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยทั้งตัวน้ำมูกไหล ไอ
ติดเชื้อแบคทีเรีย อาการมักจะนานกว่า 10 วันและมีอาการ รุนแรงน้ำมูกใสหรือข้นเขียว เป็นหนองร่วมกับอาการไอ
ลมหายใจมีกินเหม็น ปวดบริเวณหน้าผากและหัวคิ้วมาก
อาการ Acute จะรุนแรงกว่า Chronic
การวินิจฉัยX-ray parasail sinus
CT scan ได้ผลดีสุด
การตรวจด้วยการส่องไฟผ่าน อักเสบจะมี ลักษณะมัว(Transilumination)
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยา paracetamalลดไข้ บรรเทาอาการปวดศีรษะ
ให้ยาแก้แพ้
ในรายที่สงสัยว่ามีสาเหตุชักนำมา จากโรคภูมิแพ้
ไม่แนะนำให้ใช้ยาในผู้ป่วยที่เป็นแบบเฉียบพลัน เพราะจะทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
ช่วยลดอาการจาม น้ำมูกไหล และเยื่อบุจมูกบวม
ให้ยา Steroid
ลดอาการบวม ลดการคั่งของเลือดที่จมูก ทำให้รูเปิด
ของโพรงไซนัสสามารถระบายสารคัดหลั่งได้ดีขึ้น
การล้างจมูก
ช่วยชะล้างมูก คราบมูก หรือหนอง บริเวณโพรงจมูก/ไซนัส
ป้องกันการลุกลามของเชื้อจากจมูกและไซนัสไปสู่ปอด
ลดจำนวนเชื้อโรค
ล้างจมูกก่อนพ่นยา ทำให้ยามีประสิทธิภาพดี
วิธีล้าง
ล้างวันละ2ครั้ง
ใช้น้ำเกลือความเข้มข้น 0.9% NSS
ลดความเหนียวของน้ำมูก
ทำให้เชื้อโรคไม่เจริญเติบโต
หอบหืด Asthma
มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม (Chronic airway inflammation)
การอักเสบของหลอดลมมีผลทำให้เยื่อบุผนังหลอดลม มีปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อสารภูมิแพ้มากกว่าปกติ Bronchial hyper-reactivity
การมีความไวต่อสิ่งกระตุ้น ทำให้เกิดพยาธิสภาพ 3 อย่าง
หลอดลมหดเกร็งตัวBrochospasm
หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis) เยื่อบุภายในหลอดลมบวม
มีการสร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก (Hapersecretion)
ทำให้ช่องทางเดินอากาศในหลอดลมแคบลง ทำให้เกิดอาการหอบหืดขึ้น
เมื่อเกิดพยาธิสภาพ ผู้ป่วยจึงมีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
การดูแล
ให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม
ได้รับออกซิเจน
ให้พักเพื่อลดactivity
ให้ยาลดบวม เช่น Dexa ซึ่งเป็นยา Steroid
มีเสมหะ
มีเสมหะ
จะไม่เคาะปอดในผู้ที่เป็น Asthma เพราะจะทำให้หลอดลมหดเกร็งมากขึ้น
ในเด็ก1-2ปีมักเกิดตามหลังการติดเชื้อไวรัส เด็กวัยเรียน เกิดจากการมีประวัติภูมิแพ้
อาการ
เริ่มด้วยการเป็นหวัด ไอ มีเสมหะ ไอมากจะมีเสียง Wheezing ในช่วงหายใจไม่ออก
ขาดออกซิเจน จะหอบมาก ปากซีด ใจสั่น
เด็กบางคนจะมีอาการไออย่างเดียว มีอาการอาเจียนร่วม อาการไอจะดีขึ้น หลังจากที่เด็กได้อาเจียนเอาเสมหะเหนียวๆ ออกมา
การรักษา
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ควันบุหรี่
ตัวไรฝุ่น
สัตว์เลี้ยง
ตุ๊กตา หมอน พรม ที่มีขน ควรเช็ดทุกวัน
ใช้ยาถูกต้อง
ยาขยายหลอดลม(Relievers)
ยาพ่น
จะได้ผลเร็วกว่า หายใจโล่งขึ้น ใช้เมื่อมีอาการหอบ ได้แก่ ventolin
ยากลุ่ม Corticosteroids ต้องดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้งเพื่อป้องกัน เชื้อราในปาก
การใช้ baby haler
ทำความสะอาดบ่อยๆ ด้วยน้ำยาล้างจานแล้วตากให้แห้งไม่ควรใช้ผ้าถู
พ่นยาทิ้ง1ครั้ง
ยารับประทาน
ยาลดบวมและการอักเสบของหลอดลม (Steroid)
ใช้ระยะสั้น 3-5วัน ป้องกันไม่ให้โรครุนแรง
การออกกำลังกาย
ผู้ที่ควบคุมโรคได้ดี จะไม่มีโรค
ผู้ที่ควบคุมโรคไม่ได้ควรงดการออก กำลังกายที่ทำให้เหนื่อยมาก
อากาศเย็น
อากาศเย็นจะมีผลต่อการพัดโบกของ Cilia
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้ ไอ หอบ ดูดน้ำ ดูดนมน้อยลง ซึม
เกณฑที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน Pneumonia
เด็กแรกเกิดอัตราหายใจมากกว่า60ครั้ง/นาที
2เดือน-1ปี อัตราหายใจมากกว่า50 ครั้ง/นาที
1-5ปี อัตราหายใจมากกว่า40ครั้ง/นาที
การรักษา
ให้ได้รับน้ำเพียงพอ เสมหะจะขับออกง่าย
ดูแลเรื่อง clear airways suction เพื่อแลกเปลี่ยนออกซิเจน มี ประสิทธิภาพ
แก้ปัญหาพร่องออกซิเจน
ให้ยาขยายหลอดลม
ยาขับเสมหะ
ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาล
สอนการไออย่างถูกวิธี
กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
เสมหะลึก เคาะปอดและsuction
จัดให้นอนศีรษะสูง นอนทับข้างที่มีพ ยาธิสภาพ เพื่อให้ปอดข้างที่ดีขยาย ตัวอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis) หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis)
เป็นปัญหาติดเชื้อทางเดนิหายใจส่วนล่างที่พบบ่อยในเด็กเล็ก อายุประมาณ6เดือน พบบ่อยที่สุด
สาเหตุ
มีการอักเสบและอุดกลั้นของหลอดลม
เชื้อ Respiratory syncytial virus : RSV
ไม่กินนมแม่พบค่อนข้างสูง
อาการ
เริ่มจากไข้หวัดเพียงเล็กน้อย ต่อมาไอเป็นชุด หายใจเร็ว หอบ หายใจปีกจมูกบาน
มีน้ำมูกใส จาม เบื่ออาหาร
ดูดนมหรือน้ำได้น้อยหรือไม่ได้เลย
การรักษา
รักษาตามอาการ
ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาต้านการ อักเสบ(Corticosteroid) ยาขยาย หลอดลม
ให้ได้ออกซิเจนเพียงพอ
ให้อาหารที่มีประโยชน์ เช่น โปรตีนเพื่อ เสริมสร้างส่วนที่สึกหรอและสร้างภูมิต้านทาน
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
(Acute laryngotracheobronchitis, viral croup)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อของทางเดินหายใจ
ไวรัส
parainfluenzaviruses(type1-3)
influenza Aและ B
respiratory syncytial virus(RSV)
แบคทีเรีย
Mycoplasma pneumoniae
พยาธิสภาพ
มีการอกัเสบและบวมของกล่อง เสียง หลอดคอ และหลอดลมโดย เฉพาะท่ีตำแหน่ง ใต้กล่องเสียง (Subglottic region )
การรักษา
ส่วนใหญ่จะพ่น Adrenaline ต้องใส่ Endotracheal tube
อาการ
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบากใจDyspnea
ผู้ป่วยจะไอเสียงก้อง (barking cough)
มีเสียงแหบ (hoarseness)
หายใจได้ยินเสียงstridor
รุนแรง
ภาวะพร่องออกซิเจนเฉียพลัน
มักจะไม่ตอบสนองต่อยาพ่นทั่วไป
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
Beta Hemolytic streptococcus gr. A
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ
สาเหตุ
Coxsackie Viru เรียกว่า Herpangina
อาการ
มีตุ่มใส่หรือแผลตื้นที่คอหอยหรือเพดานปาก
แนะนำ
กินยา Antibiotic ให้ครบเพื่อป้องกัน ไข้รูห์มาติค
หัวใจรูห์มาติค หรือ AGN
การผ่าตัดต่อมทอนซิล (tonsillectomy)
ผ่าตัดในรายที่เป็นๆหายๆ (recurrent acute tonsillitis) ติดเชื้อเรื้อรัง (chronic tonsillitis)
มีไข้ เจ็บคอ กลืนลำบาก
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ(obstructive sleep apnea)
สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล(carcinoma of tonsils)
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
นอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อ ระบายเสมหะ น้ำลาย โลหิตอาจมีคั่งอยู่ในปากและในคอ จนกว่า เด็กจะรู้สึกตัวดี และสามารถขับเสมหะได้เอง
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลง vital signs
เมื่อรู้ตัวดี จัดให้นั่ง 1-2 ชั่วโมง อมน้ำแข็งก้อนเล็ก รับประทาน ของเหลว ปวดแผลมากให้ยาแก้ปวด
หากมีอาการเจ็บคอ กลืนลำบาก แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนที่ค่อนข้างเย็น เช่น ไอศกรีมข้นๆ
เลี่ยงการแปรงฟันลึก แปรงทุกครั้ง หลังรับประทานอาหาร
ถ้ามีเลือดออกจากช่องปาก ควร นอนพัก ยกศีรษะสูง ประคบด้วย cold pack โดยประคบ 10 นาทีเอาออก 10 นาที
นางสาวอารยา ชูระเชตุ เลขที่ 107 ปี 2
รหัสนักศึกษา62111301110