Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Living Donor Kidney Transplant - Coggle Diagram
Living Donor Kidney Transplant
คุณสมบัติและเกณฑ์ผู้บริจาคใจที่มีชีวิต
GFR>80/min/m2
BMI<35
มีค่าโปรตีนในปัสสาวะไม่เกิน300mg/24hr
ไม่มีประวัติเป็นโรคไตเรื้อรัง
ไม่มีโรคเบาหวาน
Anti HIV:neg
ไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด
ผ่านการประเมินทางจิตเวช
ไม่อยู่ในภาวะ uncontrol hypertension or end organ damage
เป็นญาติทางสายเลือดที่สามารถพิสูจน์ได้โดยการตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือทางกฎหมาย กรณีกรณีเป็นสามีภรรยาต้องมีหลักฐานสมรสทางพฤตินัยหรือนิตินัยจนถึงวันที่
ผ่าตัดปลูกถ่ายไตไม่น้อยกว่า 3 ปียกเว้นกรณีมีบุตรธิดาด้วยกันซึ่งสามารถตรวจพิสูจน์ได้ทางหมู่เลือด
อายุเท่ากับหรือมากกว่า 18 และอายุไม่เกิน 65 ปีมีไตที่ทำงานปกติทั้ง 2 ข้าง
ไม่เป็นการซื้อขายหรือได้รับจ้างวาน
-if VDRL (screening test)-reactive
ควรตรวจ TPHA(confirmatory test) ถ้า reactive
ต้องส่งปรึกษาแพทย์โรคติดเชื้อเพื่อประเมินและให้การรักษาก่อนบริจาคไต
HBsAg positiveต้องส่งปรึกษาอายุรแพทย์โรคระบบทางเดินอาหารเพื่อประเมินภาวะความรุนแรง
ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรงทางอายุรกรรม เช่น COPD,IHD,
Active infection,Chronic liver disease,drug addiction
หลักการประเมินผู้บริจาคไตที่มีชีวิต
การประเมินระบบหัวใจและทางเดินหายใจ
Cardiovascular stress test
CXR
Echo
EKG
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urinanalysis
DIpstick for protien,Blood and glucose,microalbuminuria
Microscopy,Culture and sensitivity
24 hour measurement of protien excretion rate
GFR evaluation(all 2 methods)
24 hr urinary creatinine clearance
Blood test
ABO blood group
CBC Cagulogram
BUN/Cr, E’lyte
Oral glucose test if
have 1st degree relative who have diabetes
History of gestational diabetes
FBS between 100-126
High BMI
การประเมินด้านการติดเชื้อ
Anti HIV NAT test
CMV igG
HBsAg,Anti HBs,Anti HCV
VDRL
หลักเกณฑ์พิจารณารับบุคคลที่มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะเป็นผู้บริจาคไตที่มีชีวิต
ต้องได้รับทราบจากแพทย์และยอมรับความเสี่ยงของการบริจาคไต
โดยผู้บริจาคอาจเกิดนิ่วซ้ำเกิดการติดเชื้อที่ไตและเกิดไตเสื่อมหลังการบริจาคในอนาคต
กรณีอายุน้อยกว่า 40 ปีมีโอกาสเกิดนิ่วซ้ำ
*
ไม่แนะนำบริจาค
ผู้บริจาคมีนิ่วในไตเพียงครั้งเดียว และมีเพียง 1 ก้อน และขนาดต้องไม่เกิน 1.5 cm โดยสลายนิ่วหรือผ่าตัดออกแล้วหรือยังมีนิ่วอยู่ โดยไม่มีอาการแต่สามารถผ่าตัดออกได้โดยการทำ ureteroscopy ขณะปลูกถ่ายไต และไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้
-hypercalciuria,hyperuricemia หรือ metabolic acidosis
-ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะบ่อย
-คนในครอบครัวเป็นนิ่วชนิด cystine or oxalate
-nephrocalcinosis จาก CT scan
เกณฑ์การคัดผู้บริจาคออก
เป็นโรคที่ทำให้เกิดนิ่วซ้ำ หรือเป็นนิ่วชนิดเกิดซ้ำบ่อย
เช่น cytine stones,struvite stones,primary or enteric hyperoxalurai,
distal renal tubular acidosis,sarcoidosis,inflammatory bowel sisease
ผู้บริจาคต้องได้รับการตรวจภาวะเมตาบิลิค เพื่อหาสาเหตุการเกิดนิ่ว และการทำให้เกิดนิ่วซ้ำ
การประเมินความเสี่ยงด้านมะเร็ง
Mammogram(age>50)
*PSA(age>50),U/S whole abdomen,colonoscope if + familial history of CA colon
PAP (age >35 unless not indication)
Autosomal dominant polycytic kidney disease(ADPKD)
ผู้บริจาคเป็นญาติทางสายเลือดของผู้ป่วย ADPKD type 1 ควร age>30 and no detected cyst by U/S and CT or MRI จึงจะสามารถบริจาคได้
ผู้บริจาคเป็นญาติทางสายเลือดของผู้ป่วย Alport’s syndrom ที่บริจาค ต้อง age> 50 ,have normal GFR,urine exam และไม่มียีนส์พาหะ
การตรวจประเมินร่างกาย
สัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิต
ความเสี่ยงโรคมะเร็ง
น้ำหนักส่วนสูงและBMI
ประเมินความเสี่ยงด้านโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
การซักประวัติ
โรคอื่นๆ orther significabt chronic illnes:DM,smoking
โรคไต and Family history of kidney disease
โรค Peripheral vascular disease (PVD),CAS,CVD,hypertension
ความเสี่ยงการติดเชื้อต่างๆ เช่น TB,HIV,Viral hepatitis เป็นต้น
การใช้สารเสพติดทุกชนิด
โรคมะเร็งของผู้บริจาคไตและคนในครอบครัว
การประเมินเฉพาะ ด้านศัลยกรรมที่สำคัญและการให้ข้อมูลที่จำเป็น
ให้ทางเลือกการบริจาคไต มี 2 แบบจาก Brain deaath donor and Living donor
อธิบายการเลือก ข้างของไตที่จะผ่าตัดนำออกไปจากผู้บริจาคไปที่มีชีวิต
ต้องพิจารณาถึงความปลอดภัยของผู้บริจาคใดเป็นหลักโดยดูขนาดของไตเส้นเลือดไตและพยาธิสรีระของไต
ทางเลือกการผ่าตัดลำไส้ออกมาเพื่อการปลูกไตมี 2 แบบ
1Open donor nephrectomy 2.laparoscopic donor nephrectomy
รวมถึงให้รายละเอียดการผ่าตัดแต่ละชนิดรวมถึงค่าใช้จ่ายส่วนเกินเพื่อให้ผู้บริจาคไปเป็นผู้ตัดสินใจ,
อธิบายถึงเหตุผลความจำเป็นเพื่อช่วยให้เข้าใจในการตัดสินใจและเลือกการผ่าตัดแต่ละชนิด
อธิบายการผ่าตัดผู้บริจาคไตผ่านกล้อง จะมีความเสี่ยงน้อยกว่า ฟื้นตัวเร็วกว่า ปวดแผลน้อยกว่า
และระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลน้อยกว่า
อธิบายและให้ข้อมูลความเสี่ยงจากการผ่าตัดที่อาจเกิดขึ้น
การดูแลระหว่างและหลังผ่าตัด
Day 0 operation
Pre op care
SSE
IV fluid
NPO
Blood component
Sedative
Per op teaching
IV 1-2 days
Foley's catheter 2 days
Post Op Day 1- D/C
Fluid management
Line tube care
Pain management
Nutrition
Post op complication care and monitoring
Infection
Electrolyte imbalance
Bleeding
คําแนะนําการปฏิบัติตัว
การดูแลระยะยาวหลังการบริจาคไต
การนัดตรวจ
1 เดือน
3 เดือน
6 เดือน
ปีละ 1 ครัง
การตรวจ F/U lab ตามที่กําหนด
การออกกําลังกายที่เหมาะสม
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การพักผ่อนให้เพียงพอ