Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางเดินหายใจ
กล่องเสียงเเละหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (Acute laryngotracheobronchitis, viral croup)
พยาธิสภาพ
บวมเเละอักเสบบริเวณใต้กล่องเสียง
เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน
อาการที่พบ
ไข้
เจ็บคอ ไอเสียงก้อง
หายใจลำบาก
หายใจได้ยินเสียง Stridor
ต้องใส่ท่อ Endotracheal
ต้องพ่นยา Adrenaline
viral croup
เกิดจากไวรัส parainfluenza
เกิดจากเชื้อเเบคทีเรีย Mycoplasma pneumonia
ไซนัสอักเสบ (Sinustitis)
พยาธิสภาพ
เนื้อเยื้อโพรงอากาศบวม
ทำให้
ช่องระบายอุดตัน
มีสารคัดหลั่งคั่ง
ความดันในโพรงอากาศเป็นลบ
การทำงานของ Cilla ผิดปกติ
อาการที่พบ
ไข้สูง 39 ํC
ปวดเมื่อยตามตัว
ติดเชื้อเเบคทีเรีย
เป็นมากกว่า 10 วัน
อาการรุนเเรง
ไอ ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
น้ำมูกข้นเหนี่ยว
น้ำมูกไหล
สาเหตุ
ติดเชื้อ
เชื้อรา
เชื้อไวรัส
เเบคทีเรีย
การรักษา
ให้ยา antibiotic
เพื่อฆ่าเชื้อ
ให้ paracetamal
เพื่อลดอาการปวด
ให้ยาเเก้เเพ้
เพื่อลดอาการจาม
ให้ยา stiaroid
เพื่อลดอาการบวม
การตรวจ
การวินิจฉัย X-ray paranasal sinus
การทำ CT scan
การส่องไฟผ่าน Transilumination
การล้างจมูก
ล้างจมูกวันละ 2ครั้ง ทำให้โพรงจมูกสะอาด ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรค
เข้าปอด ทำให้ทางเดินหายใจโล่ง บรรเทาอาการระคายเคือง
ทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis/Pharyngtitis)
สาเหตุ
การติดเชื้อเเบคทีเรีย
อาการที่พบ
ปวดศีรษะ
ไอ เจ็บคอ
ตุ่มใส/เเผลที่คอหอย
การดูเเลหลังผ่าตัด
รับประทานอาหารอ่อนๆ เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก ไม่ควรรับปานทานอาหารเเข็ง ร้อน รสจัด
นอนตะเเคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อระบายเสมหะ
ผู้ป่วยที่มีเเผลที่ผนังคอ ให้รับประทานของของเหลว/ของเย็นๆ
ดูเเลชีพจรไม่ให้เกิน 120 ครั้ง/นาที ภายใน 24 ชั่งโมงหลังผ่าตัด
ไม่เเปลงฟันจนลึกเกินไป อาจไปโดนเเผลได้
ประคบเย็น/อมน้ำเเข็งในช่วงเเรกๆ
การผ่าตัด (tonsillectomy)
เมื่อ
เป็นระยะเรื้อรัง
มีอาการเป็นๆหายๆ
มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
อุดกั้นทางเดินหายใจ
เป็นมะเร็งต่อมทอลซิน
หอบหืด (Asthma)
อาการ
เป็นหวัด
มีเสมหะ
หายใจมีเสียง wheezing
ปากซีดเขียว
การใช้ baby haler
หลังใช้ ล้างให้สะอาด เช็ดให้เเห้ง
ก่อนใช้ ให้พ่นทิ้งก่อน 1 ครั้ง
หมายถึง
ภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
มีการตอบสนองต่อสารภูมิเเพ้มากกว่าปกติ
การรักษา
ให้ยาอย่างถูกวิธี
หลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้น
ลดอาการอักเสบของหลอดลม
บ้วนปากหลังพ่นยา
เพื่อป้องกัันเชื้อรา
พยาธิ
หลอดลมตีบเเคบ
เนื่องจากมีเมือกเหนียวข้นจำนวนมาก
หลอดลมหดเกร็งตัว (Brochospasm)
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ได้เเก่
ไรฝุ่น
หมอน
ควันบุหรี่
ปอดบวม (Pneumonia)
ปัญหาการเเลกเปลี่ยนเเก๊ส
เเรกเกิด มากกว่า 60 ครั้ง/นาที
2 เดือน - 1 ปี มากกว่า 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี มากกว่า 40 ครั้ง/นาที
การรักษา
ดูเเลให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
ดูเเลเรื่องการพร่องออกซิเจน
อาการ
มีไข้ ไอ
ซึม
ดื่มน้ำ/นมได้น้อย
การพยาบาล
เคาะปอด
สอนให้ไออย่างมีประสิทธิภาพ
จัดท่านอนศีรษะสูง
ทำ Postural dranage
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม
ติดเชื้อ
เเบคทีเรีย
ไวรัส
หลอดลมเเละหลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchitis/Bronchiolitis)
พยาธิ
ไวรัสทำลายเนื้อเยื่อหลอดลมปอด
ทำให้
บวม
อักเสบ
หลอดลมฝอยอุดตัน
เสมหะคั่ง
เป็น atelecstasis
อาการ
เบื่ออาหาร
หายใจเร็ว หอบ
น้ำมูกใส
ดูดนมได้น้อย/ไม่ได่เลย
ไข้หวัด
หายใจปีกจมูกบาน
การติดเชื้อที่ระบบทางเดินอาหารส่วนบน
พบบ่อยในเด็ก อายุประมาณ 6 เดือน
เชื้อที่พบบ่อย respiratory syncytial virus (RSV)
การรักษา
ให้ยาลดไข้
ให้ยาขยายหลอดลม
เสริมสร้างภูมิต้านทานให้เเข็งเเรง
ให้ยา Antibiotic
ดูเเลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ