Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคความดันโลหิตสูง Hypertension - Coggle Diagram
โรคความดันโลหิตสูง Hypertension
พยาธิสรีรวิทยาของโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ เกิดจากการมีแรงต้านทานการไหลเวียนโลหิตใน
ร่างกายเพิ่มขึ้นท าให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น ในขณะที่ปริมาณโลหิตที่ถูกส่งออกจากหัวใจต่อนาที
ยังคงปกติ
กลไกแรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายที่เพิ่มขึ้นแล้วส่งผลท าให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
นั้น ส่วนใหญ่เกิดจากการตีบแคบลงของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กส่วนปลาย และอาจมีส่วนจากการ
ลดจำนวนนและความหนาแน่นของหลอดเลือดฝอยด้วย ความดันโลหิตที่สูงยังทำให้ความยืดหยุนตาม
อาการและอาการแสดงของโรคความดันโลหิตสูง
ปวดศีรษะ อาการปวดศีรษะจากโรคความดันโลหิตสูงพบได้ไม่บ่อยนัก
ปวดศีรษะแบบไมเกรน (migraine)
เลือดกาเดาไหล เป็ นอาการที่พบไม ่บ่อย
อาการอื่นๆ ที่อาจพบ ได้แก่ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ ใจสั่น อาจชัก หมด
สติ เป็ นอัมพาต และอาจเสียชีวิตได
ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง
สมอง มักเกิดจากภาวะหลอดเลือดในสมองตีบหรือแตก เนื่องจากการมีความดัน
โลหิตสูงเป็ นเวลานานจะส่งผลให้ผนังหลอดเลือดในสมองหนาและแข็งตัว เกิดการตีบจนอุดตัน เนื้อ
ในเคสกรณีศึกษาเกิดโรคแทรกซ้อนคือAlteration of conscious (AOC) R/U Transient lschemic Attack (TIA)
ตา มักเกิดภาวะจอประสาทตาเสื่อม เนื่องจากความดันโลหิตที่สูงจะส่งผลให้หลอด
เลือดแดงภายในลูกตาเกิดการหนาตัวโดยในระยะแรกจะตีบ
ไต เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ขับของเสียรักษาสมดุลน ้ำและเกลือแร่ในร่างกายเมื่อความดัน
โลหิตสูงอยูนาน จะส่งผลให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงไตมีผนังหนา เกิดการแข็งและตีบส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงไม่พอส่งผลให้การกรองของไตเสีย
จากเคสกรณีศึกษาเป็นโรคEnd stage renal disease (ESRD)
4.หลอดเลือด ภาวะความดันโลหิตที่สูง จะส่งผลให้ผนังหลอดเลือดเกิดการหนาตัวผนัง
หลอดเลือดด้านในจะไม่เรียบ หากมีไขมันไปเกาะภายในผนังหลอดเลือด จะส่งผลให้เกิดการแข็งตัว
การรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิต เช่น
ลดอาหารเค็ม
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ควบคุมน้ำหนัก
เลิกสูบบุหรี่ แอลกอฮอล์
การรักษาโดยใช้ยา
ยาขับปัสสาวะ (Diuretics) เป็นยาที่ส่งผลต่อการทำงานของไต โดยจะช่วยขับโซเดียมส่วนเกินและน้ำออกจากร่างกาย รวมไปถึงลดความดันโลหิตลง
ยาในกลุ่มเบต้า บล็อกเกอร์ (Beta Blockers) เป็นยาปิดกั้นการทำงานของเบต้า รีเซ็ปเตอร์ที่ทำให้หัวใจเต้นช้าและมีแรงต้านน้อยลง ส่งผลให้หัวใจบีบตัวในการส่งเลือดน้อยลง จึงช่วยในการลดความดันโลหิตลงได้
ยาในกลุ่มเอซีอี อินฮิบิเตอร์ (Angiotensin-Converting Enzyme Inhibitors: ACE Inhibitors) เป็นยาที่ช่วยยับยั้งการทำงานของแองจิโอเทนซิน 2 (Angiotensin II) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ทำให้หลอดเลือดเกิดการตีบตันและเพิ่มความดันโลหิตให้สูงขึ้
ยาในกลุ่มแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ (Calcium Channel Blockers) เป็นยาที่ช่วยหลอดเลือดคลายตัว เช่น ยาแอมโลดิปีน (Amlodipine) และยาดิลไทอะเซม (Diltiazem
ยาในกลุ่มแอลฟา-บล็อกเกอร์ (Alpha-blockers) ช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัวและขยายหลอดเลือดเพื่อให้เลือดไหลเวียนได้อย่างสะดวก เช่น ด็อกซาโซซิน (Doxazosin) และยาพราโซซิน (Prazosin)
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (Centrally Acting Agents) เพื่อช่วยระงับสารสื่อประสาทที่ทำให้หลอดเลือดตีบตัน ซึ่งจะลดความดันโลหิตลง เช่น ยาโคลนิดีน (Clonidineclonidine) และเมทิลโดปา (Methyldopa)