Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินการอนุรักษ์และคุ้มครองศิลปวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดำเนินการอนุรักษ์และคุ้มครองศิลปวัฒนธรรม
สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ยึดตามนโยบายวัฒนธรรมแห่งชาติ
ส่งเสริมวัฒนธรรมในทุกด้าน
ให้ประชาชนสามารถนำวัฒนธรรมไปพัฒนาตน
ส่งเสริมให้เกิดความ้ป็นอันนึงอันเดียวกันระหว่างวัฒนธรรมสท้องถิ่น
ให้ประชาชนรู้จักเลือกสรรรับวัฒนธรรมต่างแดน
การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
มีจุดประสงค์้พื่อใช้เป็นศุนย์กลางในการให้บริการศึกษาและส่งเสริมการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยสาขาต่างๆแก่เยาวชนไทยและชาวต่างชาติ
เป็นสถานที่ีแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศต่างๆทั่วโลก
เป็นสถานที่สำหรับจัดกิจกรรมและการแสดงด้านศิลปกรรมทั้งไทยและต่างประเทศ
ระยะแรกที่ได้รับการสนับสนุนในการก่อสร้างและจัดหาอุปกรณ์จากรัฐบาลญี่ปุ่น
การคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ
สวช ให้จัดทำโครงการนี้เพื่อยกย่องเชิดชูส่งเสรืมเกียรติยศของศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอันทรงคุณค่าแก่ประชาชาติ
เป็นการสร้างขวัญกำลังใจแก่ศิลปินรุ่นหลัง
โครงการงานมหกรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน
จัดนำเสนอในรูปแบบของนิทรรศการวัฒนธรรมและการแสดงนาฏศิลป์
หลังจากนั้นเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นการจัดกิจกรรมวิชาการ
การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมท้องถิ่น
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ระเบียบว่าด้วยศูนย์วัฒนธรรม
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์วัฒนธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถประสานการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดและตั้งกระจายไปตามอำเภอต่างๆอยู่ในการดูแลของ สวช
มีหน้าที่ศึกษาค้นคว้ารวบรวมวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตน
ฝึกอบรมวิทยากรและบุคคลากรรุ่นใหม่ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
ประสานงานของความสนับสนุนจากทุกภ่คส่วนในท้องถิ่นของตนเอง
กรมศิลปากร
วิธีการอนุรักษ์ในระยะนั้นยังดําเนินการตามแนวทางของสํานักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพาทิศ
ใช้ได้เฉพาะอาคารที่สร้างด้วยหินไม่ใช้อาคารก่ออิฐแบบที่พบในไทย
หลักการไม่ซ่อมแซมโบราณวัตถุแต่ค้ำจุนโบราณสถาน
ช่วงแรกที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ดูแลโบราณวัตถุสถานคือ การบูรณะโบราณสถาน
มีกองโบราณคดีเป็นผู้รับผิดชอบ
ต้องอาศัยความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญหลากหลายแขนงอาชีพ
ด้านประวัติศาสตร์
มนุษวิทยา
ด้านโบราณคดี
สังคมวิทยา
สถาปัตยกรรม
วิศวกรรม
ระยะต่อมาได้จัดทำโครงการร่วมมือกับนานาชาติเพิ่มขึ้น
โครงการโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับเดนมาร์ก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย
กรมศิลปกรได้ออกระเบียบว่าด้วยการอนุรักษ์โบราณสถานพุทธศักราช 2528
วิธีการอนุรักษ์ได้ร่วมมือกับอิตาลี
จนสามารถนำเทคนิควิธีการที่เป็นประโยชน์มาปรับปรุงโครงการอนุรักษ์ในไทย
กรมศิลปากรจำแนกประเภทของโบราณสถานและอนุสรณ์สถาน ดังนี้
สัญลักษณ์แห่งชาติ เช่น พระบรมมหาราชวัง
อาคารสถาปัตยกรรมแห่งชาติ เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม
ย่านประวัติศาสตร์ เช่น เกาะรัตนโกสินทร์
อุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติ เช่น สุโขทัย อยุธยา
นครประวัติศาสตร์แห่งชาติ เช่น เชียงใหม่ ลพบุรี
ซากโบราณและแหล่งโบราณคดี เช่น ปราสาทหินพิมาย
การอนุรักษ์จากภาคประชาชน
วัดปงสนุก เป็นศูนย์กลางชุมนุม
ผสมผสานคติทางพระพุทธศาสนาและความเชื่อทางโหรราศาสตร์ของล้านนา
ชาวบ้านร่วมมือกันบูรณะวัดขึ้นใหม่บนม่อนดอย
วิหารพระเจ้าพันองค์มีอายุกว่า120 ปี
คณะสงฆ์และชุมชนท้องถิ่นำด้จัดให้มีการอนุรักษ์เพื่อรักษาเทคนิควิธีก่อสร้างวัสดุฝีมือช่างแบบโบราณ
มีความทรุดโทรม
ได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคลกรหลายฝ่ายที่เข้ามาช่วยด้วยศรัทธาและจิตสำนึกของช่วยเหลือสังคม
โครงการอนุรักษ์วัดปงสนุก
เป็นเสมือนโครงการต้นแบบให้แก่ชุมชนในพื้นที่อื่นๆ
สร้างจิตสำนึกให้ตระหนักถึงบทบาทความสำคัญในการเลือกสรรสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่ชุมชนของตนเอง
เข้าถึงภาคปฏิบัติในการอนุรักษ์และดูแลจัดการมรดกทางวัฒนธรรมของตน
ขาวบ้านในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเป็นผู้จัดการมรดกทางวัฒนธรรมของตนเอง