Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหารที่รักษาทางยา - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหารที่รักษาทางยา
การรักษาโรคอุจจาระร่วง
1.การป้องกันและรักษาภาวะขาดน้ำ
ทดแทนน้ำและอีเล็กโทรไลต์ได้มีการรักษาโดยให้สารน้ำทางปาก
ถ้าเด็กยังไม่หยุดถ่ายต้องคอยระวัง
หากมีอาการอาเจียนหรือถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ 10มล./กก./ชม. หรือมากกว่าต้องให้สารน้ำทางหลอดเลือด
2.ป้องกันภาวะทุพโภชนาการ
โดยการให้อาหารระหว่างมีอาการอุจจาระร่วงและหลังจากหายแล้ว
การให้เหมือนเด็กร่วงทองร่วงแล้วหลังจากหายแล้วก็ป้องกันการขาดสารอาหารให้เริ่มให้อาหารทางร้านจัดให้โออาร์เอสกินทางปากแล้ว 4 ชั่วโมง
2.1 ถ้าเลี้ยงด้วยนมแม่ให้ลูกดูดนมให้มากขึ้น ถ้าไม่ได้เลี้ยงด้วยนมแม่ให้ปฏิบัติดังนี้
เด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือนขึ้นไป กินนมผสมตามปกติ
แต่แบ่งให้เด็กกินครึ่งเดียวสลับกับสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ ORS อีกครึ่งหนึ่งปริมาณเท่ากับนมที่เคยกินตามปกติ
ให้อาหารที่มีประโยชน์ เป็นอาหารเหลวที่ย่อยง่ายหลังจากหายท้องร่วงอื่นจนกว่าเด็กจะมีน้ำหนักปกติ
โจ๊ก
ข้าวต้มผสมผัก วันละ 1 มื้อเป็นเวลา 2 อาทิตย์
พยายามให้เด็กกินอาหารให้ได้มากที่สุดเท่าที่เขาต้องการ
ให้กินกล้วยน้ำว้าสุกหรือน้ำมะพร้าวเพื่อเพิ่มแร่ธาตุโปตัสเซียม
2.2 ในรายที่ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือด ไม่แนะนำให้งดอาหาร แต่ถ้าดื่มน้ำผสมให้งดไว้ก่อนให้ ORS อย่างน้อย 1 ออนซ์/กก./วัน เป็นเวลา 12 ชม. แล้วเริ่มให้นมผสมปกติต่อไปในปริมาณเท่ากันอีก 12 ชม.
การใช้ยาปฏิชีวนะและยาต้านอุจจาระร่วง
การใช้ยาปฏิชีวนะให้เหมาะสมกับเชื้อที่เป็น enteropatrogen จะทำให้ผู้ป่วยหายเร็วขึ้น
ส่วนเชื้อ Salmonella ถ้าเป็นเด็กเล็ก เด็กที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ต้องให้ยาปฏิชีวนะเข้าหลอดเลือด เพื่อกำจัดการติดเชื้อโรคระบบทางเดินอาหาร
ยาต้านอุจจาระร่วง แบ่งตามการออกฤทธิ์ของยา
1.ยาลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
ยากลุ่มนี้ไม่แนะนำให้ใช้ในการรักษาโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในเด็ก
เนื่องจากมีพิษต่อระบบประสาทให้เกินขนาด ประโยชน์ที่จำกัดของยากลุ่มนี้ คืออาจใช้ในรายที่มีอาการปวดท้องเป็นอาการเด่นร่วมด้วย ซึ่งถ้าใช้ต้องระมัดระวังให้ขนาดที่ถูกต้อง
ยาที่ดูดซึมน้ำ (Hydrophilic agents)
อยากกลุ่มนี้จะดูดซึมน้ำเข้ามาในตัวยา ทำให้เห็นว่ามีอุจจาระมีเนื้อมากขึ้น ดูเหมือนอาการอุจจาระร่วงดีขึ้นดีขึ้นแต่มีการศึกษาพบว่าจะมีการสูญเสียเกลือแร่และน้ำไปในอุจจาระมากขึ้นเพราะยาดูดซึมเอาไว้
Plantago seed
Polycarbophil
3.ยาที่ฤทธื์ดูดซับ (Adsorbents)
แนวคิดของการใช้ยา คือยาจะดูดซับเชื้อโรค แบคทีเรียไวรัส สารพิษต่างๆ
ยาที่ออกฤทธื์โดยทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ electrolytestransport
ยาในกลุ่มนี้เป็นยาที่ใช้เพิ่มการดูดซึมหรือช่วยลดการหลั่งน้ำและเกลือแร่จากลำไส้ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าได้ผลดี อุจจาระร่วงลดลง และช่วยรักษาภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ได้ทุกอายุ
สารละลายน้ำตาลและเกลือแร่ ORS
cereal base ORS
ยาที่ช่วยลดการหลั่งของน้ำและเกลือแร่จากลำไส้ ( antisecretory drug ) ได้แก่ ยาที่มีคุณสมบัติต้านฤทธื์กับ prostaglandin
aspirin
indomethacin
encephalinase inhibitor
กลไกการออกฤทธ์ิอาจเก่ียวกับยับยั้ง cyclic AMP หรือ protein kinase ในเยื่อบุลำไส้ ยาเหล่าน้ียังต้องการการศึกษาเพิ่มเติม อีกมาก
ยาที่ออกฤทธิ์ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ intestinal flora
กลุ่ม probiotic
Saccharomyces boulardii
Lactobacillus acidophilus
ซึ่งมี metabolic product อาจทำให้มีการ เปลี่ยนแปลงของpHในลำไส้ นำไปสู่การยับยั้งการเจริญเติบโตของenteropathogenและป้องกัน bacterial adherence และ colonization และยังให้กรดไขมันห่วงสั้น ทำให้การดูดซึม เกลือและน้ำท่ีลำไส้ใหญ่สมบูรณ์ข้ึนสำหรับผู้ป่วยacutediarrheaได้ผลดีในรายที่เกิดจากเชื้อrotavirus
กระเพาะอาหารอักเสบ ( Gastritis )
พยาธสิภาพ
เกิดจากความเครยีด การรบีกินอาหาร กนอาหารไม่ตรงเวลาทําใหม้ ีกรดในกระเพาะอาหารมาก
เกิดจากสารเคมีที
มีฤทธิ์กัดกร่อนเยื้อบุกระเพาะอาหารทําให้กระเพาะบางลง
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Helicobacter pylori เชื้อไวรัสบางชนิดหรือเชื้อราในผู้ป่วยที่
ภูมิต้านทานบกพร่อง
อาการแสดง
ปวดท้องใต้ลิ้นปี่
เป็นๆหายๆ ท้องอืด แน่นท้อง ถ่ายเป็นเลือดหรือสีดํา
การพยาบาล
แนะนําเรื่องการรับประทานควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสจัด
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาเช่น Histamine Ranitidin Cimitidine Alum milk
กรณีอาการรุนแรง
ให้สังเกตุการมีเลือดอกในทางเดินอาหาร
ประเมินภาวะ hypovolemic shock
NPO เพื่อลดการระคายเคืองและเพื่อสังเกตเลือดออก
ให้สารน้ำทดแทนตามแผนการรักษาของแพทย์ บันทึก I/O
กรณีต้องผ่าตัดส่องกล้องให้เตรียมสภาพจิตใจและร่างกาย