Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก, จัดทำโดย, น.ส…
การดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
(Acute laryngotracheobronchitis, viral croup)
คือ
เกิดจากการติดเชื้อของทางเดินหายใจ
มีการอักเสบและบวมของกล่องเสียง หลอดคอ และหลอดลม
ส่งผลให้เกิดอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน
อาการ
ไข้
เจ็บคอ
หายใจลำบาก มีเสียง Stridor
ไอมีเสียงก้อง (barking cough)
มีเสียงแหบ
การพยาบาล
พ่น Adrenaline
ใส่ Endotracheal tube
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ
ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้
ปวดศีรษะ
ไอ
เจ็บคอ
อาจมีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอหอย
แนะนำให้ทาน Antibiotic ให้ครบ 10 วัน
การผ่าตัด
ทำเมื่อมีการติดเชื้อเรื้อรัง หรือ เป็นๆหายๆ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ให้เด็กนอนตะแคงด้านใดด้านหนึ่งให้สะดวกต่อการดูดเสมหะ จนกว่าเด็กจะรู้สึกตัว
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
เมื่อเด็กรู้สึกตัวให้นั่ง 1-2 ชม. ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆและประคบน้ำแข็งบ่อยๆ
ถ้ามีแผลแนะนำให้ทานอาหารที่ค่อนข้างเย็น เช่น ไอศกรีมข้นๆ
หลังผ่าตัด 2 วัน ให้นอนศีรษะสูง
ทานอาหารอ่อน เหลว เย็น แปรงฟันทุกครั้ง
ไซนัสอักเสบ (Sinusitis)
คือ
เกิดการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
เกิดจากการติดเชื้อ ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
มีภาวะอุดกั้นในโพรงอากาศ เกิดการติดเชื้อทให้การทำงานของ cilia ผิดปกติ
อาการ
ระยะ
Acute sinusitis
ไม่เกิน 12 week
Chronic sinusitis
ต่อเนื่องเกิน 12 week
ไข้สูงมากกว่า 39 องศา
ปวดเมื่อยตามตัว
มีน้ำมูกไหลใสหรือข้นเป็นหนอง
ไอ
การดูแล
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยา paracetamal เพื่อลดไข้
ให้ยาแก้แพ้ลดจาม แต่ห้ามกับผู้ป่วยไซนัสอักเสบเฉียบพลัน
ให้ยา Steroid ลดการบวม
การล้างจมูก
หอบหืด Asthma
คือ
ภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
จะมีปฏิกิริยาต่อสารภูมิแพ้มากกว่าปกติ
พยาธิสภาพ
หลอดลมหดเกร็งตัว
หลอดลมตีบแคบลง
มีการสร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก
การดูแล
ให้ยาขยายหลอดลม
ให้ออกซิเจน
ให้ยาลดอาการบวม
อาการ
หวัด ไอ มีเสมหะ
ไอมากขึ้นเรื่อยๆ ไอมักมีเสียง Wheezing
บางรายอาจอาเจียนร่วมด้วย
รักษา
ลดกิจกรรมต่างๆที่หนัก
หลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้น
ใช้ยาอย่างถูกต้อง
ใช้ยาขยายหลอดลม
ชนิดพ่น
Corticosteroids
ชนิดรับประทาน
ให้ยาลดอาการบวมและการอักเสบของหลอดลม
หลีกเลียง
ควันบุหรี่
ไรฝุ่น
ตุ๊กตาที่มีขน
การออกกำลังกาย
อากาศเย็น
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis) และหลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis)
คือ
เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง
เชื้อ Respiratory syncytial virus : RSV
เนื่องจากการอักเสบและอุดกลั้นของหลอดลม
พบในเด็กที่ไม่กินนมจะพบได้ค่อนข้าง
อาการ
ไข้หวัด
มีน้ำมูกใส จาม
จาม
เบื่ออาหาร
หอบ
หายใจปีกจมูกบาน
การรักษา
ให้ยาลดไข้
ให้ยา Antibiotic
ยาต้านการอักเสบ
ให้ยาขยายหลอดลม
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลปัญหาติดเชื้อ
ปอดบวม (Pneumonia)
สาเหตุ
สำลีกสิ่งแปลกปลอม
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้
ไอ
หอบ
ดูดน้ำ
ดูดนมน้อยลง
ซึม
เกณฑ์ใช้ตัดสินอัตราการหายใจ
เด็กแรกเกิด
มากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
2เดือน-1ปี
มากกว่า 50 ครั้งต่อนาที
1-5ปี
มากกว่า 40 ครั้งต่อนาที
การรักษา
ให้ได้รับสารอาหารเพียงพอ
ดูแลเรื่อง Clear airway suction
ดูแลปัญหาพรองออกซิเจน
ให้ยาขยายหลอดลม บาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาล
สอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
ถ้าเสมหะอยู่ลึกให้เคาะปอด
จัดนอนศีรษะสูง หรือทับข้างที่มีพยาธิสภา
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
จัดทำโดย
น.ส.สุพัชญา หลอดจำปา ชั้นปีที่ 2 รุ่น 37 เลขที่ 96 รหัส 62111301099