Coggle requires JavaScript to display documents.
แต่ละเซกเมนต์สามารถเชื่อมต่อกันได้ โดยใช้อุปกรณ์ Repeater หรือ Bridge
ข้อดีของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายวิธีนี้ คือสามารถเพิ่มโหนดเข้าไปในเครือข่ายได้ง่าย
ข้อเสียของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายวิธีนี้ คือกรณีที่โหนดใดโหนดหนึ่งเกิดการขัดข้องทำให้เกิดการรบกวนการทำงานของโหนดอื่นๆได้
สายสัญญาณหลัก ซึ่งนิยมใช้สายโคแอกเชียลอย่างหนา
อุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่างโหนดต่างๆ กับสายสัญญาณหลัก เรียกว่า Transceiver
สายสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างโหนดและ Transceiver
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับปิดการเชื่อมต่อที่ปลายทั้งสองด้านของสายสัญญาณหลัก เรียกว่า Terminator
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายวิธีนี้ เป็นการเชื่อมต่อโหนดต่างๆ ด้วยสายสัญญาณเป็นทอดๆ กันในลักษณะเชิงเส้นตรง โดยทั่วๆไปนิยมใช้สายโคแอกเชียลอย่างบาง (Thin Coaxial)
ความยาวของแต่ละเซกเมนต์ สามารถมีได้ไม่เกิน 200เมตร
ข้อเสียของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายวิธีนี้ คือ กรณที่โหนดใดโหนดหนึ่งเกิดขัดข้องโหนดอื่นๆ ไม่สามารถใช้งานได้
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายโดยวิธี Daisy Chain มีดังนี้ คือ
สายสัญญาณ โดยใช้ 1 เส้นต่อ 1 โหนด
กรณีที่สายสัญญาณเป็นสายโคแอกเชียลอย่างบาง ใช้ตังเชื่อมต่อ BNC Cable Connector เพื่อเชื่อมเข้ากับปลายสาย
แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface: NIC)
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับปิดการเชื่อมต่อที่ปลายทั้งสองด้านของสายสัญญาณ เรียกว่า Terminator
- โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Daisy Chain Hub