Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุล กรด-ด่างในร่างกาย, นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร…
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุล
กรด-ด่างในร่างกาย
Compensatory mechanism
Acid-base compensation
ปรับผ่าน Buffering system: เกิดภายในช่วงเวลาไม่กี่วินาที สารต่างๆที่สามารถจับกับH+ ได้
Bicarbonate system
Hemoglobin buffering: Hemoglobin (Hb)
intracellular protein
ปรับผ่าน Respiratory compensation: จะเกิดภายในเวลา วินาที -ระดับนาที
• H+ ที่สูงขึ้นใน plasma จะกระตุ้น Peripheral chemoreceptor ทำให้เกิด Hyperventilation
• CO2 ที่สูงขึ้นจากการ buffer จะกระตุ้น Central chemoreceptor
ทำให้เกิด Hyperventilation เช่นกัน
• Hyperventilation ทำให้เพิ่มการขับ CO2 ออกไปมากขึ้น
ปรับผ่าน Renal compensation: จะเกิดในระดับชั่วโมง และจะเกิดจนสมบูรณ์จริงๆใช้เวลาประมาณ 3-5 วัน (ในคนปกติ)
Bicarbonate reabsorption: จะมีการกระตุ้นการดูดกลับ HCO3- มากขึ้นที่ Proximal tubule
Homeostasis
เมื่อเสียสมดุลกรด-ด่าง ร่างกายจะรักษา homeostasis ด้วยกลไก 3 ระบบ
Blood & cell buffer system
Respiratory system ปรับRR เพื่อกำจัดกรด (CO2)
Renal system ขับกรด (H+) หรือขับด่าง(HCO3-)
การประเมินภาวะกรด-ด่าง
• ซักประวัติการสูญเสียน้ำ
• ความผิดปกติของระบบการหายใจ
การตรวจร่างกาย
• ตรวจสภาพน้ำเกิน-น้ำขาด ลักษณะการหายใจ ความผิดปกติของระบบการหายใจ
และความผิดปกติอื่น ๆ
• พบสภาพขาดน้ำ (ECF volume deficit) ร่วมกับ metabolic alkalosis
• การหายใจเร็ว (hyperventilation)
• การหายใจช้ามักมี hypercapnia, hypoxia พบใน respiratory acidosis
• การหายใจลึก Kussmaul’s breathing
• ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจอื่น ๆ
ภาวะ Respiratory acidosis
สาเหตุ
ไม่สามารถขับ CO2 ทำให้มีการคั่ง PaCO2
เกิดจาก PCO2 > 45 mmHg ทำให้ pH<7.35
ร่างกายต้องเพิ่ม HCO3- ให้สมดุลกับ PCO2
อาการ
ภาวะกรดเฉียบพลัน:CO2 narcosis
• อาการซึม ปวดศีรษะ ตามัว อ่อนเพลีย
• หายใจหอบแรง ลึก (Kussmaul’s respiration)
• อ่อนเพลีย กล้ามเนื้อเป็นตะคริว หัวใจเต้นผิดจังหวะจาก K ต่ำ
• หัวใจเต้นเร็ว BP สูง ถ้ามีภาวะกรดสูง เกิด Hypotension
• หลอดเลือดขยาย (peripheral vasodilation)
• ความดันหลอดเลือดในปอดสูง หัวใจซีกขวาวาย
ภาวะกรดเรื้อรัง:
• พบการคั่งของ CO2 ในเวลากลางคืน
• Hypernatremia เกิดอาการบวมส่วนปลาย
• Hypochloremia
Respiratory alkalosis
สำเหตุ
• ศูนย์หายใจทำงานเพิ่ม
• โรคระบบประสาทส่วนกลาง
• ได้รับสารกระตุ้น
• ภาวะติดเชื้อ
• Metabolic acidosis
• ตัวรับเคมีส่วนปลายถูกกระตุ้น
• การกระตุ้น receptor อื่นๆในปอด
อาการ
• วิตกกังวล มึนศีรษะ ซึม ไม่รู้สึกตัว
• หายใจเร็ว ลึก
• Reflex เพิ่ม ระดับ K, Ca, Mg ลดลง
• มีอำกำรใจสั่น หัวใจเต้นผิดปกติ ช็อค
• หำยใจลำบาก CO ลดลง เกิดการพร่องออกซิเจนได้
Metabolic acidosis
สาเหตุ
• H+ เพิ่ม
• สูญเสีย HCO3 ทางไตและนอกไต
• ท้องเสีย
• ไตล้มเหลว (การกรองที่ glomerulus ไม่ดี)
การปรับสภาพ
• การปรับโดยการหายใจ
• การปรับโดยไต
อาการ
• ปวดศีรษะ ซึม ไม่รู้สึกตัว กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชัก
• เพิ่มกำรหลั่ง aldosterone, insulin, catecholamines
• การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
• การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
Metabolic alkalosis
สำเหตุ
• ได้รับหรือกินยำที่มีเกลือไบคำร์บอเนต, เกลือซิเทรต
• ไตเพิ่มกำรสร้าง HCO3
• ภาวะขาด K
• Hyperaldosteronism
การปรับสภาพ
• ระดับ HCO3 มำกขึ้น มีผลกระตุ้น chemoreceptor ท ำให้กำรหำยใจ
ลดลง เลือดมี PaCO2 เพิ่มขึ้น
• ไตขับถ่ายไอออนไบคาร์บอเนตและโซเดียมมำกขึ้น (ในปัสสำวะมีโซเดียม
และโพแทสเซียมมาก)
อาการ
• กล้ามเนื้อและประสาทไวต่อการกระตุ้นมากขึ้น
• กำรรับสัมผัสผิดปกติ (paresthesia)
• Hypokalemia
• Hypophosphatemia
• การหายใจช้าตื้น อาจมีอาการพร่องออกซิเจน
นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร รหัสนักศึกษา 634N46133