Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fluid and Electrolyte Disturbance, Fluid and Electrolyte Disturbance อ…
Fluid and Electrolyte Disturbance
การรักษาสมดุลน้ำในร่างกาย
Thirst center
เป็นhypothalamic osmoreceptorsที่เชื่อมต่อกับ cerebral cortex การเปลี่ยนแปลงของ osmolality เพียงร้อยละ 1-2 ก็สามารถกระตุ้น thirstcenter ได้เมื่อosmolality เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นให้มีการดื่มน้ำมากขึ้น
Osmoreceptors
ใน hypothalamus เมื่อ osmolality เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหลั่ง antidiuretic hormone (ADH) โดยเซลล์ประสาทADH จะจับกับ V2receptors ใน collecting duct ท้าให้น้้าถูกดูดซึมกลับมากขึ้น ปริมาณปัสสาวะลดลงและปัสสาวะเข้มข้นขึ้น การเปลี่ยนแปลงของ osmolality เพียงร้อยละ 1 สามารถกระตุ้นการหลั่ง ADH ได้
ADH
ปัจจัยที่มีผลต่อการหลั่ง ADH เพิ่ม
Osmolality ของ ECF ที่
เพิ่มขึ้น
Fluid volume ใน ECF ลดลง
อุณหภูมิสูง
การบาดเจ็บที่สมอง
Drugs
ปัจจัยที่มีผลต่อการหลั่ง ADH ลดลง
Osmolality ของ ECF ที่ลดลง
Fluid volume ใน ECF เพิ่ม
Diabetic insipidus
Drugs
Aldosterone
ดูดซึมกลับของน าและ Na+ ที่ distal tubule
Glucoticoid
สร้างจาก zona fasciculata ของ adrenal cortex มีบทบาทเสริมฤทธิ์ mineralocorticoid ช่วยดูดกลับของน้ำและ Na+ ที่ distal tubule
Prostaglandin
อยู่ในเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกาย ช่วยให้หลอดเลือดขยายตัว ทำให้มีการขับ Na มากขึ้้น
การทำงานของไต
Fluid volume deficit
ภาวะที่ร่างกายขาด
น้ำและ Na แต่ osmolality ยังเท่าเดิม
สาเหตุ
ได้รับน้ำและ Na น้อยลง ไม่เพียงพอ
มีการสูญเสียออกจากร่างกาย
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เกิดภาวะ “osmotic diuresis”
Hyponatremia
สาเหตุ
เกิดจากขาด Na
ภาวะ hyperglycemia
ท้องเสีย อาเจียนมาก
Potassium
การปรับระดับ K ให้ปกติเกิดจากการทำงานของ insulinaldosterone catecholamine
Hypokalemia
สาเหตุ
ได้รับ K น้อย
สูญเสีย K มาก
ทางเดินอาหาร
ทางเดินปัสสาวะ
การเคลื่อนที่ K เข้า cell มาก
สาเหตุอื่น
Fluid and Electrolyte Disturbance
อ.จักรพันธ์ กึนออย
นางสาวเตือนใจ ตรีเดช 634์N46108