Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะสมดุล กรด-ด่างในร่างกาย, พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุล กรด…
ภาวะสมดุล
กรด-ด่างในร่างกาย
การผลิตกรดในร่างกาย
Oxidation ของสารประกอบคาร์บอน เช่นกลูโคส, กรดไขมัน ฯลฯ ทำให้เกิดCO2 อัตราการเกิดขึ้นอยู่กับอัตราเมตะบอลิซึมึ่งถูกกำจัดออกจากร่างกายทางการหายใจ
การควบคุมสมดุลกรด-ด่าง
ไฮโดรเจนไอออนในร่างกาย
H+ในพลาสมามีความเข้มข้นเปลี่ยนแปลงอยู่ในช่วง 44 ถึง 36 นาโนโมลต่อลิตร
ค่า pH ปกติของเลือดมีค่าอยู่ระหว่าง 7.35 - 7.45
ค่า pH สูงขึ้น (> 7.45 เรียกว่า alkalosis)
ค่า pH ต่ำลง (< 7.35 เรียกว่า acidosis)
ระบบบัฟเฟอร์ (Buffer systems)
ระบบไบคาร์บอเนต/กรดคาร์บอนิก
ระบบฟอสเฟต
พบมากในเม็ดเลือดแดง (red blood cell; RBC) และใน renal tubule cell
ระบบนี้จึงสำคัญสำหรับในเซลล์มากกว่านอกเซลล์
ระบบโปรตีน
โปรตีน
หลายชนิดในเลือด ได้ เฮโมโกลบิน อัลบูมิน
การปรับค่า pH ของเลือดให้เข้าสู่ระดับปกติ
เปลี่ยนแปลงระดับ CO2 ในเลือด กระบวนการนี้เป็น
หน้าที่ของระบบหายใจ
เพิ่มหรือลดตัวบัฟเฟอร์ในคู่บัฟเฟอร์
การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง
การควบคุมผ่านการหายใจ (Respiratory regulation)
การควบคุมโดยไต (Kidney excretion)
ดูดซึมกลับไฮโดรเจนคาร์บอเนต (HCO3)
ขับกรด H+
ขับ H+ซึ่งเมื่อ H+ไตสร้างแอมโมเนียได้เป็นเกลือแอมโมเนียไอออน
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
Respiratory acidosis
Respiratory alkalosis
Metabolic acidosis
Metabolic alkalosis
การประเมินภาวะกรด-ด่าง
ซักประวัติการสูญเสียน้ำ
ความผิดปกติของระบบการหายใจ
อาการเหนื่อยหอบ
โรคไอเรื้อรัง
หายใจลำบาก
อาเจียน
การเสียน้ำทางอุจจาระมาก
ท้องเสีย
ภาวะ
Respiratory acidosis
Respiratory alkalosis
ศูนย์หำยใจทำงานเพิ่ม เนื่องจากอาการทางจิต (hyperventilation)
เลือดออกในสมอง
ได้รับสารกระตุ้น
ภาวะติดเชื้อ
Metabolic acidosis
H+ เพิ่ม จากมีกรดคีโตนมาก หรือกรดแลคติกมาก
สูญเสีย HCO3 ทางไตและนอกไตมากกว่าปกติ
ท้องเสีย การระบายน้ำดีหรือน้ำย่อยจากตับอ่อน
ไตล้มเหลว
Metabolic alkalosis
ได้รับหรือกินยำที่มีเกลือไบคำร์บอเนต
ภาวะขาด K
ภาวะกรดจากการหายใจ เพิ่มการดูดกลับ HCO3
ได้ยาขับปัสสาวะ เสีย Na ออกไปกับปัสสาวะ
เสียกรดจากร่างกาย
ไม่สามารถขับ CO2 ทำให้มีการคั่ง PaCO2
การระบายอากาศลดลง
ศูนย์หายใจถูกกดทำงานลดลง หรือถูก
ทำลายทำให้chemoreceptor เสื่อมสภาพ
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุล
กรด-ด่างในร่างกาย
อ.จักรพันธ์ กึนออย
นางสาวเตือนใจ ตรีเดช634N46108