Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Disorder of Respiratory system, นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร รหัสนักศึกษา…
Disorder of Respiratory system
Hypoxia
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
กระตุ้น Sympathetic
ทำให้ cardiac output เพิ่มขึ้น(SV, HR)
เกิดการสลายของกลูโคสมาใช้มากขึ้น
หลอดเลือดตีบ ท่าให้เพิ มปริมาณเลือดไปสมองและหัวใจ
หากขาดออกซิเจนเรื้อรัง ร่างกายจะปรับโดยการเพิ่มขนาดของหลอดเลือด ให้
เลือดไปเลี้ยงมากขึ้น มักพบ clubbing finger และเพิ่ม 2,3 diphosphoglycerate ใน RBC ท่าให้เนื้อเยื่อได้รับ O2 มากขึ้น
Hypoxia inducible factor (HIF): กระตุ้นให้ยีนที่สร้าง vascular endothelial growth factor (VEGF) ให้มีการสร้างเส้นเลือดใหม่และยีนที่สร้าง erythropoietin (EPO) ซึ งกระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงมาก
ระบบหายใจ
เมื่อ O2
ต่ำร่วมกับ lactic acidosis จะกระตุ้น carotid body ส่งไปศูนย์การหายใจ
ระยะแรกท่าให้หายใจเร็ว แรง มีการใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ เช่น กล้ามเนื้อคอ กล้ามเนื้อซี โครง กล้ามเนื้อหน้าท้อง เป็นต้น
หาก PaO2
< 30 mmHg จะกดศูนย์การหายใจ อาจหายใจ แบบ cheyne stroke จนกระทั่ง apnea
ไต
• เมื่อ O2
ต่ำ ร่วมกับ lactic acidosis
ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
จากการส่งเลือดน้อยลง ทำให้ GFR ลดลง
ไตหลั่ง renin erythropoietin factor(REF) ซึ่ง REF เป็น precusor ของ erythropoietin
กระตุ้น bone marrow
มาก สร้าง RBC มากขึ้น
หากนานมากขึ้นพบ RBC เกิน ส่งผลให้
systemic vascular resistance สูง เกิด pulmonary hypertension ได้
ตับ
เมื่อ O2 ต่ำทำให้ตับเกิด centrilobular fibrosis
กล้ามเนื้อลาย
• กล้ามเนื้อลายสามารถดึง O2
มาใช้ได้มากกว่าเนื้อเยื่ออื่นๆ
• สามารถดึงพลังงานที่เก็บในรูป creatinine phosphate มาใช้ได้
ภาวะหายใจล้มเหลว
(respiratory failure)
ภาวะที่ PaO2 <60 mmHg, PaCO2 >50 mmHg, pH<7.3,oxyhemoglobin น้อยกว่าร้อยละ 90, HCO3 ในเลือดลดลง
ระดับความรุนแรงของภาวะเลือดพร่องออกซิเจน
Mild hypoxemia : PaO2 60 – 80 mmHg
Moderate hypoxemia : PaO2 40 -60 mmHg
Severe hypoxemia : PaO2 < 40 mmHg
ชนิดของหายใจล้มเหลว
การถ่ายออกซิเจนล้มเหลว (Type I respiratory failure ;Oxygenation failure)
เกิดจากการซึมซาบ (diffusion) และ
การไหลเวียนเลือด (perfusion) ลดลง ผล ABG (arterial blood gas) :PaO2 <60 mmHg (V/Q mismatch, Rt to Lt shunt)
การระบายอากาศล้มเหลว (Type II respiratory failure, Ventilatory failure, pumping or hypercapnic failure,)
การคั่งคาร์บอนไดออกไซด์ ผล ABG: PaCO2 >50 mmHg และ pH<7.3
Type of respiratory failure
Acute respiratory failure
PaO2 ลดลง หรือ PaCO2 สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ร่างกายปรับตัวไม่ทัน ผู้ป่วยจะเสียชีวิตรวดเร็ว
Chronic respiratory failure
PaO2 ค่อยๆ ลด หรือ PaCO2 ค่อยๆ สูงขึ้นร่างกายปรับตัวได้ : โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)
เฉียบพลัน+ เรื้อรัง (Acute on chronic)
มีภาวะหายใจล้มเหลวอยู่ก่อนมีภาวะแทรกซ้อน ท่าให้ PaO2 ลดลงรวดเร็ว: COPD + ปอดบวม
Type I, Acute hypoxic respiratory failure (AHRF)
Type II, Ventilatory failure
Type III, perioperative respiratory failure
Type IV, Shock
ภาวะหายใจล้มเหลว
(respiratory failure)
กลไก
hypoventilation
หายใจช้า ตื้น, tidal volume: VT ลดลง
เกิดภาวะ Hypercapnia
diffusion defect
ถุงลมบวม/หนา, พังผืดที่ถุงลม
V/Q mismatch
• อากาศที่เข้าปอดไม่ได้แลกเปลี่ยนผล คือ PaO2 ต่ำ เกิด hypoxia
• การระบายอากาศที สูญเปล่า (dead space ventilation) มีการระบายอากาศมากกว่าเลือดที ไหลมายังปอด
shunt: มักมี PaO2ต่ำ เพราะไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ เช่น ปอด
แฟบ ปอดอักเสบ น้ำท่วมปอด
อาการ
Hypoxemia (PaO2 ลดลง)
ระบบประสาทส่วนกลาง
สับสน เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
และการรับร
ระบบไหลเวียนเลือด
หัวใจบีบตัวช้า เต้นผิดจังหวะ ความแรง
ลดลงความดันโลหิตต่ำลง
เนื้อเยื่อ
เขียวคล้ำ (cyanosis)
ไต
สร้าง erythropoitin เพิ่ม ทำให้มีเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
Hypercapnia (PaCO2 เพิ่ม)
กระตุ้น ประสาทซิมพาเทติค
กระตุ้น ศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้หายใจเร็วและลึก
ภาวะเลือดเป็นกรด ทำให้หลอดเลือดแดงปอดหดตัวเกิดภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลว
การแก้ไขภาวะ hypoxemia และ hypercapnia
DO2 = CO X (1.34 X Hb X SaO2 ) + (0.003XPaO2)
รักษาระดับของ PaO2 ให้สูงกว่า 60 mmHg, ค่า SaO2 ที่เกิน 90%
ให้low flow oxygen device และ high flow oxygen device
นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร รหัสนักศึกษา 634N46133