Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Disorder of Gastrointestinal system, นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร…
Disorder of Gastrointestinal system
การหลั่งน้ำย่อยกระเพาะอาหาร
Cephalic phase
กระตุ้น parietal cell หลั่งน้ำย่อยเมื่อถูกกระตุ้น
vagus nerve
Gastric phase (hormonal phase)
อาหารเข้า stomach ฮอร์โมน
gastrin กระตุ้น Parietal cell บริเวณ antrum หลั่งกรด HCl ใช้เวลา 2-3 ชม.จน pH =1.5
intestinal phase
อาหารเข้า duodenum
หลั่งคล้ายฮอร์โมน gastrin
กระตุ้นหลั่ง pepsin และ mucous duodenal จน pH ลดลง
เมื่อหลั่ง
enterogastrone ซึ่งจะยับยั้งการหลั่ง
น้ำย่อยและลด gastric emptying
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis)
Acute gastritis
เกิดจากการรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด ร้อนจัด สูบบุหรี่จัด ดื่มเหล้าจัด
เกิดการบาดเจ็บที่ชั้น mucosa+ submucosa
ความรุนแรงเล็กน้อย- mucosal necrosis หายสมบูรณ์ 2-3 วัน
Chronic gastritis
เกิดจากการสูบบุหรี่จัด ดื่มเหล้าจัด reflux duodenal content Helicobacter pylori
แบบ type A
เกิดตำแหน่ง fundus
เกิดจากมี gastrin สูง
แบบ type B
เกิดทั่วๆทั่งกระเพาะอาหาร
เกิดจาก reflux, สูบบุหรี่จัด ดื่มเหล้าจัด
แผลในทางเดินอาหาร (Peptic ulcer)
เกิดจากการรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด, ร้อนจัด สูบบุหรี่จัด, ดื่มเหล้าจัด
พบการบาดเจ็บฉีกขาดที่ชั น mucosa พบได้ที่หลอดอาหาร, กระเพาะอาหาร และล้าไส้เล็กส่วนต้น อัตราการเกิดโรค พบในเพศชาย> หญิง
แผลที่กระเพาะอาหาร (Gastric ulcer)
แผลที่กระเพาะอาหาร (Gastric ulcer) มักเกิดที่กระเพาะอาหารส่วน antrum ต่อ body ใกล้ lesser curvature (มีเลือดมาเลี ยงน้อย)
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้อง
❖ยาแก้อักเสบกลุ่มที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs)
❖การติดเชื้อ H.pylori
❖การไหลย้อนกลับของน้ำย่อย
❖กระเพาะอาหารบีบตัวลดลง
❖การไหลเวียนเลือดของเยื่อบุ
ภาวะแทรกซ้อนของแผลในทางเดินอาหาร
(Peptic ulcer)
• Upper Gastrointestinal Bleeding (UGIB)
• Ulcer perforation
• rebound tenderness
• Penetration
• Obstruction
Inflammatory bowel disease: IBD
ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายผิดปกติ มีการสร้างเม็ดเลือดขาวในเยื่อบุทางเดินอาหารมากเกินไป
ส่งผลให้เกิดการอักเสบเรื้อรังและนำไปสู่การอุดตันของล้าไส้
อาการแสดง
• ปวดเกร็งช่องท้อง
• ท้องเสีย
• เป็นไข้
• คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลีย
• น้ำหนักลด
• โลหิตจาง
ภาวะแทรกซ้อน
fistula
2.toxic megacolon
Diverticulosis
โรคที่มีการเกิดกระเปาะหรือถุงโป่ง (เรียกว่า diverticula) ยื่นออกมาทางด้านนอกของผนังลำไส้ โดยอาจมีขนาดต่างๆ ทั้งเล็กและใหญ่ อาจมีกระเปาะเดียวหรือหลายกระเปาะ
มักพบในวัยผู้สูงอายุบ่อย
มีอุปนิสัยการรับประทานอาหารที่มีกากใย (fiber)น้อย
ไม่ออกก้าลังกาย
เกิดได้ทุกต้าแหน่งของล้าไส้ และพบบ่อยสุดที่sigmoid colon
อาการแสดง
ปวดเหมือนถูกบีบบริเวณช่องท้องส่วนล่าง
ท้องผูก แน่นท้อง ท้องอืด
มีไข้ ตรวจพบ WBC สูงขึ้น
กลืนลำบาก (dysphagia)
1.Oropharyngeal dysphagia : กลืนลำบำกช่วงคอ (ปาก-หลอดอาหาร)
Esophageal dysphagia เป็นการกลืนลำบากในช่วงหลอดอาหาร
ท้องผูก (Constipation)
• ถ่ายอุจจาระแข็ง หรือเป็นลำเล็กลง
• จำนวนความถี่ในการถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์
• เจ็บที่ทวารหนักเวลาถ่ายอุจจาระ มีอาการเรอ ท้องอืด และ
• ความรู้สึกเหมือนว่าถ่ายอุจจาระไม่สุด
ท้องเสีย (Diarrhea)
1.Osmotic diarrhea
2.Secretory diarrhea
3.Motility diarrhea
ลำไส้อุดตัน (intestinal obstruction)
ภาวะที่มีการขัดขวางการเคลื่อนผ่านของกากอาหารในลำไส้เล็กหรือลำไส้ใหญ่
mechanical obstruction: hernia, tumor
Paralytic ileus
Abdominal adhesion
นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร รหัสนักศึกษา 634N46133