Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fluid and Electrolyte Disturbance, นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร…
Fluid and Electrolyte Disturbance
น้ำในร่างกาย (Body fluid)
total body water (TBW)
solid part
เยื่อและแร่ธาตุ
ทางคลินิกจะแบ่ง ECF ออกเป็น
IVF และ ISF
WTOR : Water Turnover rate
อัตราการสับเปลี่ยนน้ำ ในแต่ละวัน
ปริมาณ น้ำรับเข้า
ต้องเท่ากันจึงจะสมดุล
ปริมาณน้ำขับออก
Turnover rate
เด็กเสียน้ำมากกว่าผู้ใหญ่
ทางผิวหนัง
พื้นที่ผิวกายมากกว่า
ทางปัสสาวะ
urine concentratingability ในเด็กเล็กไม่ดีเท่าผู้ใหญ่
เด็กมีทางได้รับน้ำมากกว่าผู้ใหญ
REGULATION OF BODY FLUID COMPARTMENTS
OSMOSIS = SOLVENT MOVEMENT
DIFFUSION = SOLUTE MOVEMENT
Na+-K PUMP
GIBBS-DONNAN EQUILIBRIUM
STARLING’S FORCE
ปริมาณ CATIONS & ANIONS ในสารน้ำของร่างกาย
ค่ารวม cations= ค่ารวม anions ใน(แต่ละช่อง(แต่ปริมานในICF> ECF)
ECF: Na+,Cl-,HCO-3 > ใน ICF
ICF :K+,Mg++,PO4,organic acids, protein > ใน ECF
Effective osmolality หรือ tonicity
Osmolality
ความเข้มข้นของสารทั้งหมดที่ละลายในน้ำ 1 liter
เมื่อ ECF มี osmolality ลดลง
เช่น hyponatremia น้ำจะเคลื่อนเข้าไปใน
ICF ทำให้ปริมาตรของ ICF เพิ่มขึ้น เพื่อทำห้เกิด osmotic equilibrium
ถ้า ECF มี osmolality เพิ่มขึ้น
เช่น hypernatremia น้ำจะ
เคลื่อนออกจาก ICF ทำให้ปริมาตรของ ICF ลดลง
Regulation of fluid balance
ควบคุมพร้อมกัน
Osmolality
Volume
3.pH ขึ้นกับplasma [H+]
การรักษาสมดุลน้ำในร่างกาย
กลไก
Thirst center
Osmoreceptors
1.ADH (antidiuretic hormone 2.Aldosterone
Glucoticoid
Prostaglandin
การทำงานของไต
Electrolyte imbalance
Hyponatremia
Plasma Na (<135 mEq/L)
Hypernatremia
Na (>145 mEq/L) สูง
Potassium
การปรับระดับ K ให้ปกติ (cations อิสระ)
เกิดจากการทำงานของ insulin,
aldosterone, catecholamine
Hypokalemia
ระดับ K ในเลือด <3.5 mEq/L
Hyperkalemia
ระดับ K ในเลือด < 5.5 mEq/L
นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร รหัสนักศึกษา 634N46133