Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร เป็นการศึกษา ค้นคว้า รวบรวม และประมวลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหรือประเด็นที่ทำการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ผ่านมาจนถึงงานที่ทันสมัยที่สุดในสาขาวิชานี้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้ผู้วิจัยว่ามีความรอบรู้เป็นอย่างดีในเรื่องที่จะทำวิจัย
2.เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น
3.เพื่อกำหนดขอบเขตและเลือกปัญหาการวิจัยที่มีประโยชน์และทันสมัย
4.เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดและสมมติอฐานการวิจัย
5.เพื่อออกแบบการวิจัยให้เหมาะสม
6.เพื่อเขียนรายงานการวิจัยที่มีคุณค่า น่าเชื่อถือ
กิจกรรมในการทบทวนวรรณกรรม
การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ข้อควรปฏิบัติ
1.ทบทวนวรรณกรรมตลอดกระบวนการ
2.ทบทวนอย่างมีเป้าหมาย
3.สืบค้นจากทุกช่องทาง
4.ทันสมัย
5.จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์ ประมวลเป็นข้อสรุป
6.อ้างอิงวรรณกรรมอย่างถูกต้อง
ขอบเขตการทบทวน
เนื้อหาเชิงทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เนื้อหาเชิงเทคนิควิธีการวิจัย
ขั้นตอนการค้นคว้าวรรณกรรม
1.กำหนดวัตถุประสงค์
2.ระบุวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและแหล่งวรรณกรรม
3.สืบค้น/จัดหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
4.อ่านและจดบันทึกสาระจากวรรณกรรม
5.เตรียมการวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม
การกำหนดขอบเขตเพื่อทบทวนวรรณกรรม
1.กำหนดคำสำคัญ
2.กำหนดประเด็นที่จะทบทวน
หลักการนำเสนอ
เหมาะสมกับผู้อ่าน
นำเสนอตามวัตถุประสงค์
หลักการวางโครงร่าง
หลักการใช้ภาษาในการนำเสนอ
ขั้นตอนการนำเสนอ
1.ตรวจสอบคุณค่า จัดกลุ่ม วิเคราะห์สาระ
2.กำหนดโครงร่าง
3.เขียนร่างรายงาน
4.ประเมินและปรับปรุง/แก้ไขรายงาน
หลักการนำเสนอวรรณกรรม
1.กำหนดเป้าหมายชัดเจน
2.กำหนดโครงสร้าง
3.การจัดลำดับการนำเสนอ
4.เลือกเนื้อหาสาระที่ตรงประเด็นและเหมาะสม
5.คำนึงถึงผู้อ่าน
6.เขียนตามโครงสร้างและเชื่อมโยงให้บรรลุเป้าหมาย
7.สรุปให้กะทัดรัดชัดเจน
8.การอ้างอิง
9.การตรวจสอบและปรับปรุงงานเขียน
หลักการนำเสนอวรรณกรรม
1.เขียนให้ตรงประเด็นที่อยู่ในขอบเขต
2.เขียนในลักษณะเรียบเรียง
3.จัดหมวดหมู่
4.จัดลำลับ
5.สรุปเพื่อแสดงตัวแปรและกำหนดกรอบแนวคิด
6.การอ้างอิง
7.ทำการตรวจสอบและปรับปรุงงานเขียน
ลักษณะการนำเสนอผลงาน
พรรณนาตัวแปรที่ศึกษา
ระบุความสัมพันธ์หรือความต่างของตัวแปร
การประเมินคุณภาพของรายงานวรรณกรรม
1.คุณภาพของวรรณกรรมที่ไปสืบค้นมานำเสนอในรายงาน
2.ความสามารถและความพยายามของผู้วิจัยในการจัดทำรายงาน