Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Disorder of Respiratory system, นางสาวนาซูฮา แซแอ 634N46219 - Coggle…
Disorder of Respiratory system
Type of Hypoxia
Histotoxic hypoxia หรือ Cellular hypoxia:
Anemia มีผลให้ Hb ลดลง ออกซิเจนแย่งจับ Hb
คือ ภาวะที่ “เนื้อเยื่อ” ขาด O2 มาเลี้ยงอย่างเพียงพอ
Hypoxemic hypoxia
.อากาศที หายใจมี O2 ต่ำ
Alveolar hypoventilation ลดลง
มีภาวะ Intrapulmonary shunt:
Dead space ventilation มาก
Circulatory hypoxia หรือ Stagnant hypoxia:
ภาวะ Hypoxia ที่เกิดจากเลือดไหลไปสู่อวัยวะนั้นได้น้อยกว่าปกติ
Histotoxic hypoxia
ภาวะ Hypoxia ที่เกิดจากเซลล์รับ O2 ไปได้แล้ว แต่กลับเอาไปใช้ไม่ได้ ซึ่งเซลล์ใช้O2 ไปกับกระบวนการขนส่งอิเล็กตรอนนั่นเอง ซึ่ง O2 จะท าหน้าที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบประสาท
สมองไวต่อการขาดออกซิเจนหรือใช้ O2 45 ml/min ผลิต ATP เพื อควบคุม Na-K pump, สร้างสาร neurotransmitter เพื อการ synapse
อาการ กระสับกระส่าย, สับสน, ซึม. พูดไม่รู้เรื่อง รุนแรงมากขึ้น
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
กระตุ้น Sympathetic ท่าให้ cardiac output เพิ มขึ้น(SV, HR)
เกิดการสลายของกลูโคสมาใช้มากขึ้น
หลอดเลือดตีบ ท่าให้เพิ มปริมาณเลือดไปสมองและหัวใจ
ระบบหายใจ
เมื อ O2 ต่ำ ร่วมกับ lactic acidosis จะกระตุ้น carotidbody ส่งไปศูนย์การหายใจ ระยะแรกท่าให้หายใจเร็ว แรง มีการใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ
ผลต่อไต
เมื อ O2 ต่ำ ร่วมกับ lactic acidosis ท่าให้เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
ไตหลั ง renin erythropoietin factor(REF) ซึ ง REF เป็นprecusor ของ erythropoietin ไปกระตุ้น bone marrowมาก สร้าง RBC มากขึ้น
ผลต่อตับ
เมื อ O2 ต่ำ ท่าให้ตับเกิด centrilobular fibrosis
ภาวะหายใจล้มเหลว
ภาวะที PaO2 <60 mmHg, PaCO2 >50 mmHg, pH<7.3,oxyhemoglobin น้อยกว่าร้อยละ 90, HCO3 ในเลือดลดลง
ชนิดของหายใจล้มเหลว
การถ่ายออกซิเจนล้มเหลว
เกิดจากการซึมซาบ (diffusion) และการไหลเวียนเลือด (perfusion) ลดลง
การระบายอากาศล้มเหลว
การคั่งคาร์บอนไดออกไซด์
กลไกการเกิดหายใจล้มเหลว
hypoventilation:
หายใจช้า ตื้น, tidal volume: VT ลดลง
diffusion defect:
ถุงลมบวม/หนา, พังผืดที่ถุงลม
V/Q mismatch
shunt:
มักมี PaO2ต่ำ เพราะไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
อาการ
Hypoxemia (PaO2 ลดลง)
ในระยะแรก
เหงื่อออก กระสับกระส่าย หัวใจเต้นผิดจังหวะมีการกระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ท่าให้หายใจเร็วและตื้นเหนื่อย
ในระบบประสาทส่วนกลาง:
สับสน เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวและการรับรู้ กระสับกระส่าย ชัก หมดสติ ร่วมกับการหายใจผิดปกติ
Hypercapnia (PaCO2 เพิ่ม)
กระตุ้น ประสาทซิมพาเทติค
กระตุ้น ศูนย์ควบคุมการหายใจ ท่าให้หายใจเร็วและลึก
ภาวะเลือดเป็นกรด ท่าให้หลอดเลือดแดงปอดหดตัวเกิดภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลว
นางสาวนาซูฮา แซแอ 634N46219