Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินหายใจ ☺☎ - Coggle Diagram
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินหายใจ ☺☎
หอบหืด Asthma
ความหมาย
ภาวะที่(มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม (Chronic airway inflammation)
เกิดพยาธิสภาพ 3 อย่างคือ
หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis)
มีการสร้างเมือกเหนียวจํานวนมาก(Hypersecretion)
หลอดลมเกร็งตัว (Brochospasm)
อาการ
หวัด ไอ มีเสมหะ ถ้าไอมากขึ้นเรื่อยๆ มักจะมีเสียงWheezing ในช่วงหายใจออก ปากซีดเซียว ใจสั่น
การรักษา
บางรายอาจได้รับยาพ่นกลุ่ม Corticosteroids ดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้งเพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราในปาก
ให้ยาลดอาการบวม เช่น Dexa ควรใช้เพียงระยะสั้นๆ คิย 3 - 5 วัน เพื่อการรักษา
ถ้ามีเสมหะห้ามเคาะปอด เพราะจะทำให้หลอดลมเกิดการหดเกร็งมากขึ้น
การใช้ baby haler
ต้องล้างทำความสะอาดบ่อยๆ ล้างด้วยน้ำยาล้างจาน
ตากให้แห้งไม่ควรใช้ผ้าเช็ดถู
เพราะ
เพราะจะทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตที่ผนังของ Spacer
หลังล้างทำความสะอาด ต้องสอนผู้ป่วยให้พ่นยาทิ้ง 1 ครั้ง
Pneumonia
สาเหตุ
สำนักสิ่งแปลูกปอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้ ไอ หอบ ดูดน้ำ-แมน้อยลง ซิม
เกณฑ์องค์การอนามัยโลก
2-12เดือน
อัตราการหายใจ มากกว่า 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี
อัตราการหายใจ มากกว่า 40 ครั้ง/นาที
เด็กแรกเกิด
อัตราการหายใจ มากกว่า 60 ครั้ง/นาที
การรักษา
ดูแลเรื่องใช้ และClear airway suction
เพื่อ
ให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ยาขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
เพื่อ
เพื่อให้เสมหะอ่อนและขับออกได้ง่าย
การพยาบาล
ในรายที่เสมหะอยู่ลึกให้ Postural drainage โดยการเคาะปอด และ Suction เพื่อป้องกันภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
นอนศีรษะสูง/นอนทับข้างที่มีพยาธิสภาพ
เพื่อ
เพื่อให้ปอดข้างที่ดีขยายตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ต้องสอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
Bronchitis Bronchiolitis
ความหมาย
เป็นปัญหาการติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนล่าง พบบ่อยในเด็กเล็ก ช่วงอายุประมาณ 6 เดือน
สาเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อย Respiratory syncytial virus : RSV
ส่งผลให้
ทำให้เกิด Atelectasis (การอุดกั้นของหลอดลมฝอย)
อาการ
เริ่มตั้งแต่เป็นไข้หวัลเล็กน้อย
ต่อมา
เริ่มไอ ร้องกวน
หายใจปีกจมูกบาน
การรักษา
ยาต้านการอักเสบ(Corticosteroid)
ยาขยายหลอดลม
ให้ยาลดไข้ยา ยาปฏิชีวนะ
ให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอการรักษา
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ
Beta Hemolytic streptococcus gr. A
กินยา Antibioticให้ครบ 10 วัน
เพื่อ
ป้องกันรูห์มาติค หรือกรวยไตอักเสบแบบเฉียบพลัน
Coxsackie Virus เรียกว่า Herpangina
หลังผ่าตัด
การดูแล
ให้นอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อระบายเสมหะ หรือโลหิต จนกว่าจะรู้สึกตัวดี
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
เมื่อรู้สึกตัวดี จัดให้เด็กอยู่ในท่านั่ง 1-2 ชั่วโมง ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆ
ในรายที่ปวดแผลให้ใช้กระเป๋าน้ำแข็งวางรอบคอ
ปวดมาก
ให้ยาแก้ปวด
การทานอาหาร
อาหารอ่อนที่ค่อนข้างเย็น
เช่น
ไอศกรีมขันๆ
ข้อห้าม
อาหารที่แข็งหรือร้อน หรือรสเผ็ดเกินไป
หลีกเลี่ยงการแปรงฟันลึกเกินไป
การออกแรงมาก การเล่นกีฬาที่หักโหม
ควรเป็นอาหารเหลว
ถ้ามีเลือดออก
อมน้ำแข็งในปาก
ประคบบริเวณหน้าผากหรือคอด้วย cold pack เพื่อให้เลือดหยุด
ควรนอนพัก ยกศีรษะสูง
Sinusitis
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อจะทำให้เกิดการบวมของเยื่อบุในโพรงอากาศ
ส่งผลให้
เกิดภาวะอุดตันช่องระบายของโพรงอากาศข้างจมูก(osteomeatal complex)
ทำให้เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
ระยะของโรค
Acute sinusitis ไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis นานเกิน 12 สัปดาห์
อาการ
ในรายที่ติดเชื้อแบคทีเรีย อาการมักจะนานมากกว่า 10 วัน
และมีอาการรุนแรง โดยมีน้ำมูกข้นเขียวเป็นหนอง ร่วมกับไอ
ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น ปวดบริเวณหน้าผาก และหัวคิ้วมาก
มีไข้สูงมากกว่า 39 ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย มีน้ำมูกไหล ไอ
** อาการ Acute
จะรุนแรงกว่า Chronic
การรักษา
ให้ยา paracetamal เพื่อลดไขบรรเทาปวดศีรษะ
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้แพ้
ห้ามใช้ยาแก้แพ้ในผู้ที่เป็นไซนัสอักเสบแบบเฉียบพลัน เพราะจะทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
ใช้ยากับผู้ที่เป็นไซนัสอักเสบแบบเรื้อรัง ที่เป็นภูมิแพ้
ให้ยาSteroid เพื่อลดอาการบวม ลดการคั่งของเลือดที่จมูก
การล้างจมูก
ทำให้โพรงจมูกสะอาด ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรคไปสู่ปอด
ช่วยช่วยเพิ่มความชุ่มชื่น บรรเทาอาการคัดแน่นจมูก
ล้างจมูกวันละ 2 ครั้ง โดยใช้ 0.9% NSS
viral croup
คือ
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อของทางเดินหายใจ ทำให้เกิดกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบแบบเฉียบพลัน
พยาธิสภาพ
การอักเสบและบวมของกล่องเสียง หลอดคอ และหลอดลม โดยเฉพาะใต้กล่องเสียง (Subglottie region )
ทำให้เกิด
ภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน
อาการ
หายใจลำบาก (Dyspnea)
เสียงแหบ(hoarseness)
เจ็บคอ
หายใจได้ยินเสียง stridor
ไข้
ไอมีเสียงก้อง(barking cough)
การรักษา
อาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมักจะไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไป
ส่วนใหญ่จะพ่น Adrenaline บางรายต้องใส่ Endotracheal tube
Endotracheal tube